ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การก่อการกำเริบวอร์ซอ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ลบหมวดหมู่:แนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่สอง); เพิ่ม[[:หมวดหมู่:แนวรบด้านตะวันออก (สง...
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 31:
| campaignbox = {{Campaignbox Operation Tempest}}
}}
'''การก่อการกำเริบวอร์ซอ'''({{lang-pl|powstanie warszawskie}}; {{lang-de|Warschauer Aufstand}}) เป็นปฏิบัติการครั้งสำคัญในสมัย[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] ในช่วงฤดูร้อน ปี ค.ศ. 1944 โดยฝ่ายต่อต้านใต้ดินโปลิช ภายใต้การนำโดย[[กองทัพบ้านเกิด]]({{lang-pl|Armia Krajowa}}) เพื่อปลดปล่อย[[วอร์ซอ|กรุงวอร์ซอ]]จากการยึดครองของเยอรมัน การก่อการกำเริบครั้งนี้ได้ประจวบตรงกับการล่าถอยของกองทัพเยอรมันจากโปแลนด์ก่อนที่การรุกของโซเวียต ในขณะที่ได้เข้าใกล้ชานเมืองทางตะวันออกของเมือง กองทัพแดงได้หยุดปฏิบัติการรบเพียงชั่วคราว ทำให้เยอรมันสามารถรวบรวมกองกำลังใหม่และปราบปรามฝ่ายต่อต้านโปแลนด์และทำลายล้างเมืองเพื่อล้างแค้น การก่อการกำเริบครั้งนี้ได้ต่อสู้รบเป็นเวลา 36 วันด้วยการสนับสนุนจากภายนอกเล็กน้อย มันเป็นความพยายามทางทหารที่ใหญ่ที่สุดที่ดำเนินเพียงลำพังโดยขบวนการต่อต้านของยุโรปในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง
'''การก่อการกำเริบวอร์ซอ''' ({{lang-pl|powstanie warszawskie}}) เป็นเหตุการณ์ครั้งสำคัญในสมัย[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] เมื่อได้เกิดเหตุการณ์การจลาจลใน[[วอร์ซอ|กรุงวอร์ซอ]] [[ประเทศโปแลนด์]] เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม ปี 1944 ซึ่งประเทศโปแลนด์อยู่ภายใต้การยึดครองของ[[นาซีเยอรมนี]] การก่อจลาจลนั้นมาจากกองกำลังใต้ดินของ[[กองทัพบ้านเกิด]]ของประเทศโปแลนด์ในกรุงวอร์ซอได้ก่อจลาจลเพื่อปลดปล่อยประเทศโปแลนด์ให้เป็นอิสระจากนาซีเยอรมันให้ได้ก่อน[[สหภาพโซเวียต]]ซึ่งกำลังรุกจากตะวันออก เนื่องจากเป็นวัตถุประสงค์ของสหราชอาณาจักรเพราะได้เล็งเห็นว่าสหภาพโซเวียตได้สนับสนุน[[คณะกรรมาธิการแห่งชาติเพื่อการปลดปล่อยโปแลนด์]]และหมายจะยึดครองโปแลนด์ให้กลายเป็นรัฐบริวารคอมมิวนิสต์ซึ่งได้พยายามขัดขวางไม่ให้ทำสำเร็จจึงได้สนับสนุนขบวนการใต้ดินของโปแลนด์ในการก่อจลาจลโดยได้ให้การสนับสนุนทางอากาศของตน โปลแลนด์ แอฟริกาใต้ และ[[สหรัฐอเมริกา]] ส่วนสหภาพโซเวียตได้แสดงเจตจำนงทำการสนับสนุนกองทัพบ้านเกิดของโปแลนด์ในการก่อจลาจลจึงได้ให้การสนับสนุนกองทัพอากาศเช่น การต่อสู้ได้ถูกดำเนินเป็นเวลา 2 เดือน จนกระทั่งเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม ปี 1944 กองทัพเยอรมันได้ปราบปรามการจลาจลอย่างราบคาบ กองกำลังใต้ดินโปแลนด์ได้ยอมจำนน และกรุงวอร์ซอถูกทำลายเสียหายยับเยินโดยกองทัพเยอรมัน
 
การก่อการกำเริบครั้งนี้ได้เริ่มต้นเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม ปี 1944 เป็นส่วนหนึ่งของปฏิบัติการเทมเพสท์ ทั่วทั้งประเทศ เปิดฉากเดียวกับช่วง[[การรุกลูบลิน-เบรสต์]]ของโซเวียต เป้าหมายหลักของโปลคือขับไล่เยอรมันออกไปจากวอร์ซอ ในขณะที่ได้ช่วยให้ฝ่ายสัมพันธมิตรเอาชนะเยอรมนีได้สำเร็จ ส่วนที่เพิ่มเติม, เป้าหมายทางการเมืองของรัฐใต้ดินโปแลนด์คือการปลดปล่อยเมืองหลวงของโปแลนด์และยืนยันอำนาจอธิปไตยของโปแลนด์ก่อนที่[[คณะกรรมาธิการแห่งชาติเพื่อการปลดปล่อยโปแลนด์]]ที่ได้รับการสนับสนุนจากโซเวียตจะเข้ามาควบคุม ด้วยสาเหตุอื่นๆถัดมา รวมถึงภัยคุกกคามของมวลชนชาวเยอรมันได้ไล่ต้อนชาวโปลที่ร่างกายแข็งแรงสำหรับ"การอพยพ" ที่ถูกเรียกโดยวิทยุมอสโกของราชการโปแลนด์สำหรับการก่อการกำเริบและความต้องการทางอารมณ์ของโปลแลนด์เพื่อความยุติธรรมและการล้างแค้นต่อศัตรูหลังห้าปีที่ถูกเยอรมันยึดครอง
 
ในช่วงแรก, โปลได้จัดตั้งการควบคุมบนพื้นที่ส่วนใหญ่ในส่วงกลางของวอร์ซอ แต่โซเวียตได้เพิกเฉยต่อความพยายามของโปลในการติดต่อทางวิทยุกับพวกเขาและไม่รุกคืบเกิดขอบเขตของเมือง การต่อสู้รบกันบนถนนอย่างดุเดือดระหว่างเยอรมันและโปแลนด์ยังคงดำเนินต่อไป เมื่อวันที่ 14 กันยายน ฝั่งตะวันออกของแม่น้ำวิสตูลาตรงข้ามกับตำแหน่องฝ่ายต่อต้านโปลที่ยึดครองโดยทหารโปแลนด์ที่ต่อสู้ภายใต้การบังคับบัญชาของโซเวียต; 1,200 นายได้ก้าวข้ามแม่น้ำ แต่พวกเขาไม่ได้รับการเสริมกำลังโดย[[กองทัพแดง]] ด้วยเหตุนี้และการขาดการสนับสนุนทางอากาศจากฐานทัพโซเวียตที่ใช้เวลาบินภายใน 5 นาที นำไปสู่การกล่าวหาว่าโจเซฟ สตาลินได้สั่งให้กองกำลังของเขาหยุดอย่างมีชั้นเชิวเพื่อให้ปฏิบัติการล้มเหลวและทำให้ฝ่ายโปแลนด์ถูกบดขยี้ Arthur Koestler ได้เรียกท่าทีของโซเวียตว่า "หนึ่งในความอัปยศครั้งใหญ่ของสงครามครั้งนี้ซึ่งจะจัดอันดับให้นักประวัติศาสตร์ในอนาคตในระดับศีลธรรมเดียวกับลิดยิตแซ"
 
[[วินสตัน เชอร์ชิล]]ได้ขอร้องกับ[[โจเซฟ สตาลิน]]และ[[แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์]]ได้ช่วยเหลือโปแลนด์ พันธมิตรของบริเตนแต่ไร้ประโยชน์แต่อย่างใด จากนั้น, หากปราศจากการเคลียร์ทางอากาศของโซเวียต เชอร์ชิลได้ส่งสัมภาระที่ความสูงระดับต่ำกว่า 200 โดยกองทัพอากาศหลวง กองทัพอากาศแอฟริกา และกองทัพอากาศโปแลนด์ ภายใต้การบัญชาการของอังกฤษ ในปฏิบัติการได้เป็นที่รู้จักกันคือ การขนส่งทางอากาศวอร์ซอ ต่อมา,หลังได้รับการเคลียร์ทางอากาศของโซเวียต กองทัพอากาศสหรัฐได้ส่งสัมภาระจำนวนมากในความสูงระดับหนึ่งที่เป็นส่วนหนึ่งของปฏิบัติการ ''Frantic''
 
แม้ว่าจะไม่ทราบจำนวนผู้เสียชีวิตที่แน่นอน แต่ก็ได้มีการคาดการณ์ว่ามีสมาชิกของกลุ่มต่อต้านโปลประมาณ 16,000 คนถูกฆ่าตายและบาดเจ็บประมาณ 6,000 คน ในส่วนที่เพิ่มเติม, จำนวนพลเมืองระหว่าง 150,000 และ 200,000 คนล้วนเสียชีวิต ส่วนใหญ่เพื่อการประหารชีวิตหมู่ ชาวยิวที่ถูกซ่อนโดยชาวโปลได้ถูกเปิดเผยโดยการค้นทั่วบ้านต่อบ้านของเยอรมันและการขับไล่มวลชนในละแวกที่ใกล้เคียงทั้งหมด เยอรมันสูญเสียทหารไปทั้งหมดกว่า 17,000 นายที่ถูกฆ่าตายและสูญหาย ในช่วงระหว่างการสู้รบในเมือง อาคารของกรุงวอร์ซอได้ถูกทำลายประมาณ 25% หลังการยอมจำนวนของกองกำลังโปแลนด์ ทหารเยอรมันได้ทำลายเพิ่มอีกเป็น 35% ของเมืองโดยบล็อกต่อบล็อกอย่างเป็นระบบ เมื่อรวมกับความเสียหายที่เกิดขึ้นก่อนหน้านี้ในการบุกครองโปแลนด์ ปี ค.ศ. 1939 และการก่อการกำเริบวอร์ซอเกตโต ปี ค.ศ. 1943 เมือง 85% ได้ถูกทำลายโดยเดือนมกราคม ค.ศ. 1945 ช่วงเวลาของเหตุการณ์ในแนวรบด้านตะวันออกได้บีบบังคับเยอรมันละทิ้งเมือง
 
สาเหตุที่การจลาจลล้มเหลวเพราะสหภาพโซเวียตไม่ได้สนับสนุนอย่างจริงจังแต่อย่างใดเลย และยังปฏิเสธไม่ให้กองทัพอากาศสหรัฐอเมริกาลงจอดในลานบินแดนโซเวียตเพื่อสนันสนุนโปแลนด์
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}