ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การพิชิตหมิงของชิง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
โยงไปหน้าที่มี
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 45:
ส่วนฮ่องเต้หมิงองค์สุดท้าย [[จักรพรรดิฉงเจิน]]ได้ปลิดชีพพระองค์เองโดยผูกพระศอใต้ต้นไม้ในพระราชอุทยานหลัง[[พระราชวังต้องห้าม]]
 
เมื่อหลี่ จื้อเฉิงเริ่มบุกเข้ามาใกล้ภูเขาแม่ทัพเอกของหมิง [[อู๋ ซานกุ้ย]] ผู้ทรยศได้แอบเจรจาเป็นไส้ศึกให้แมนจูลับๆลับ ๆ เปิดประตู[[ด่านซันไห่|ด่านซันไฮ่กวาน]]และรวมกำลังสมทบกับแม่ทัพแมนจูนำโดยองค์ชาย[[ตัวเอ่อร์กุ่น]] เข้าตีกองมัพของหลี่ จื้อเฉิง แตกพ่ายไปใน[[การรบที่ด่านซันไฮ่]]
จนในวันที่ 6 มิถุนายน ปีเดียวกัน พวกแมนจูและอู๋ซานกุ้ยได้เข้ากรุงปักกิ่งสำเร็จ ตัวเอ่อร์กุ่นประกาศแต่งตั้งอ้ายซินเจว๋หลัว[[จักรพรรดิซุ่นจื้อ|ซุ่นจื้อ]]เป็นจักรพรรดิแห่งประเทศจีนและก่อตั้งราชวงศ์แบบจีนขึ้น
 
การพิชิตประเทศจีนของแมนจูยังไกลจากความสำเร็จและมันต้องอาศัยระยะเวลาอีก 40 กว่าปีก่อนที่ดินแดนของประเทศจีนทั้งหมดจะถูกรวมอยู่ภายใต้ราชวงศ์ชิงอย่างสมบูรณ์ [[จักรพรรดิคังซี]]ขึ้นครองราชย์ในปี ค.ศ. 1661 ทรงได้ประกาศ[[นโยบายการกวาดล้างครั้งใหญ่]]ที่จะปราบการต่อต้านของชาวฮั่นที่ยังคงจงรักภักดีต่อราชวงศ์หมิงและต่อต้านแมนจูในภาคใต้ของจีน ต่อมาคังซีต้องปราบปรามกบฎหลายต่อหลายครั้ง ได้แก่ [[กบฎเจ้ากบฏสามเจ้าศักดินา]]นำโดยอู๋ซานกุ้ยผู้ซึ่งเคยร่วมมือกับแมนจู เริ่มตั้งแต่ปี ค.ศ. 1673 และหลังจากนั้นยังต้องเผชิญหน้ากับการรบหลายครั้งเพื่อขยายอาณาจักรชิงให้กว้างขวางออกไป ในปี ค.ศ. 1662 '''[[เจิ้ง เฉิงกง]]''' หรือ (โคซินกา) แม่ทัพฮั่นผู้รักชาติและจงรักภักดีต่อราชวงศ์หมิงได้ขับไล่ชาวฮอลันดาจาก[[ไต้หวัน]]และตั้ง[[อาณาจักรตุงหนิง]]ขึ้นที่นั่น เพื่อเป็นฐานที่มั่นต่อต้านราชวงศ์ชิง เจิ้ง เฉิงกง ได้ประกาศเจตนารมย์ '''ต้านชิง กู้หมิง''' ("ฟ้านชิงฟู่หมิง" ([[อักษรจีนตัวย่อ]]: 反清复明; อักษรจีนตัวเต็ม: 反清復明) มีเป้าหมายขับไล่ชาวแมนจูอกไปจากประเทศจีนและรวมประเทศจีนอีกครั้ง อย่างไรก็ตามตุงหนิงได้ล่มสลายในปี ค.ศ. 1683 หลังจากจักรพรรดิคังซีส่งกองทัพเรือบุกใน[[ยุทธการเผิงหู]] นำโดย [[ชื่อ หลาง]] ชาวฮั่นที่รับใช้เป็นแม่ทัพให้ชิง
 
หลังจากการล่มสลายของราชวงศ์หมิงซึ่งเกิดจากสาเหตุหลายปัจจัย นักวิชาการตะวันตกโต้แย้งว่าหนึ่งสาเหตุที่ทำให้ราชวงศ์หมิงล่มสลายมาจากความขัดแย้งกันเองของเชื้อพระวงศ์หมิงกับแม่ทัพหมิง<ref>Kenneth M. Swope, The Military Collapse of China's Ming Dynasty, 1618-44 (Routledge: 2014)</ref> ปัจจัยอื่นๆอื่น ๆ มาจากปัญหาภายใน ด้านการบริหาร, ภาวะการเงินขัดสน, ภัยแล้งจากธรรมชาติ, นำไปสู่การต่อต้านและการก่อจลาจลของกลุ่มกบฎชาวนาในกรุงปักกิ่งในปี ค.ศ. 1664 ประกอบกับจักรพรรดิหมิงหลายพระองค์อ่อนแอ บริหารบ้านเมืองแบบไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอ<ref>Lillian M. Li, Alison Dray-Novey and Haili Kong, Beijing: From Imperial Capital to Olympic City (MacMillan, 2008) pg. 35</ref>
 
หลังจากการล่มสลายของราชวงศ์หมิงซึ่งเกิดจากสาเหตุหลายปัจจัย นักวิชาการตะวันตกโต้แย้งว่าหนึ่งสาเหตุที่ทำให้ราชวงศ์หมิงล่มสลายมาจากความขัดแย้งกันเองของเชื้อพระวงศ์หมิงกับแม่ทัพหมิง<ref>Kenneth M. Swope, The Military Collapse of China's Ming Dynasty, 1618-44 (Routledge: 2014)</ref> ปัจจัยอื่นๆมาจากปัญหาภายใน ด้านการบริหาร, ภาวะการเงินขัดสน, ภัยแล้งจากธรรมชาติ, นำไปสู่การต่อต้านและการก่อจลาจลของกลุ่มกบฎชาวนาในกรุงปักกิ่งในปี ค.ศ. 1664 ประกอบกับจักรพรรดิหมิงหลายพระองค์อ่อนแอ บริหารบ้านเมืองแบบไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอ<ref>Lillian M. Li, Alison Dray-Novey and Haili Kong, Beijing: From Imperial Capital to Olympic City (MacMillan, 2008) pg. 35</ref>
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง|}}