ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จันทรุปราคา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8088560 สร้างโดย 2403:6200:8871:5807:7163:8D9C:F177:EDE1 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Lunar eclipse April 15 2014 California Alfredo Garcia Jr1.jpg|thumb|300px|จันทรุปราคาเต็มดวง 15 เมษายน 2557]]
'''จันทรุปราคา''' (ชื่ออื่น เช่น '''จันทรคาธ''', '''จันทรคราส''', '''ราหูอมจันทร์''' หรือ '''กบกินเดือน'''; {{lang-en|lunar eclipse}}) เป็นปรากฏการณ์ที่[[ดวงจันทร์]]ผ่านหลัง[[โลก]]เข้าสู่อัมบรา (umbra) โดยตรง ซึ่งเกิดขึ้นได้เฉพาะเมื่อ[[ดวงอาทิตย์]] โลกและดวงจันทร์เรียงตรงกันพอดีหรือใกล้เคียงมาก โดยมีโลกอยู่กลาง ชนิดและระยะของ[[อุปราคา]]ขึ้นอยู่กับตำแหน่งของดวงจันทร์เทียบกับปมวงโคจร (orbital node)
 
จันทรุปราคาสามารถดูได้จากทุกที่ในฝั่งกลางคืนของโลก ซึ่งต่างกับ[[สุริยุปราคา]]ซึ่งมองเห็นได้จากพื้นที่ค่อนข้างเล็กของโลก จันทรุปราคากินเวลาเป็นชั่วโมง ขณะที่สุริยุปราคาเต็มดวงกินเวลาเพียงไม่กี่นาทีในที่หนึ่ง ๆ เนื่องจากเงาของดวงจันทร์มีขนาดเล็กกว่า นอกจากนี้ จันทรุปราคายังสามารถดูได้โดยไม่ต้องมีสิ่งป้องกันดวงตาหรือการป้องกันเป็นพิเศษ เพราะมืดกว่าจันทร์เพ็ญ
 
== มาตราดังชง ==
[[André-Louis Danjon|อองเดร ดังชง]]คิดค้นมาตราต่อไปนี้ (เรียก [[มาตราดังชง]]) เพื่อจัดความมืดโดยรวมของจันทรุปราคา<ref>{{cite web | title = Observing and Photographing Lunar Eclipses | url = http://skytonight.com/observing/objects/eclipses/3304036.html | last = Paul Deans and Alan M. MacRobert | publisher = Sky and Telescope}}</ref>
:'''L=0''': อุปราคามืดมาก แทบมองไม่เห็นดวงจันทร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลางคราสเต็มดวง (mid-totality)
:'''L=1''': อุปราคามืด มีสีเทาหรือออกน้ำตาล แยกแยะรายละเอียดได้ยาก
:'''L=2''': อุปราคาสีแดงเข้มหรือสนิม เงากลางมืดมาก ขณะที่ขอบนอกของอัมบราค่อนข้างสว่าง
:'''L=3''': อุปราคาสีแดงอิฐ เงาอัมบราปกติมีขอบสว่างหรือสีเหลือง
:'''L=4''': อุปราคาสีแดง-ทองแดงหรือส้มสว่างมาก เงาอัมบราสีออกน้ำเงินและขอบสว่างมาก
 
== ลักษณะของดวงจันทร์เมื่อเกิดจันทรุปราคาเต็มดวง ==