ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศจีน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 31:
| leader_name2 = [[หลี่ เค่อเฉียง]]
| leader_name3 = [[Wang Qishan]]
| largest_city = [[เซี่ยงไฮ้]]
| legislature = [[สภาประชาชนแห่งชาติ]]
| area_km2 = 9,596,961
บรรทัด 81:
|publisher=Chinadaily.net
|date=24 January 2008
|accessdate=15 June 2009 }}</ref><br />
<sup>2</sup>ข้อมูลเฉพาะจีนแผ่นดินใหญ่เท่านั้น ไม่นับรวมฮ่องกง มาเก๊า และไต้หวัน}}
{{มีอักษรจีน}}
บรรทัด 134:
 
== ภูมิศาสตร์ ==
{{บทความหลัก|ภูมิศาสตร์จีน}}
[[ไฟล์:Satellite image of China.jpg|thumbnail|321px|ภาพถ่ายดาวเทียมของสาธารณรัฐประชาชนจีน]]
ตั้งอยู่ในเอเชียตะวันออก บนฝั่งตะวันตกของ[[มหาสมุทรแปซิฟิก]] มีพื้นที่ดินประมาณ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร เป็นประเทศที่มีพื้นที่บนบกมากที่สุดเป็นอันดับที่ 2 ของโลก<ref name="listofcountriesoftheworld.com"/> และถูกพิจารณาว่ามีพื้นที่ทั้งหมดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 3 หรือ 4 ของโลก<ref name="Ref_aq">[http://www.fco.gov.uk/servlet/Front?pagename=OpenMarket/Xcelerate/ShowPage&c=Page&cid=1007029394365&a=KCountryProfile&aid=1018965313021 "The People's Republic of China"] (7 September 2005). Foreign & Commonwealth Office</ref> ความไม่แน่นอนเกี่ยวกับข้อมูลขนาดนี้เกี่ยวข้องกับ (ก) ความถูกต้องของการอ้างสิทธิ์เหนือดินแดนของจีน อย่างเช่น [[อัคสัยจิน]]และดินแดนทรานส์คอราคอรัม (ซึ่งอินเดียอ้างสิทธิ์เหนือดินแดนทั้งสองด้วยเช่นกัน)<ref name="CIA">[https://www.cia.gov/library/publications/the-world-factbook/fields/2070.html Field Listing – Disputes – international], [[CIA World Factbook]]</ref> และ (ข) วิธีการคำนวณขนาดทั้งหมดโดยสหรัฐอเมริกา ซึ่งหนังสือความจริงของโลกระบุไว้ที่ 9,826,630 กม.<sup>2</sup><ref name="Ref_ar">{{cite web
บรรทัด 263:
 
=== บริหาร ===
{{โครง-ส่วน}}
 
=== นิติบัญญัติ ===
บรรทัด 280:
=== ตุลาการ ===
{{บทความหลัก|ศาลประชาชนสูงสุดแห่งชาติ}}
{{โครง-ส่วน}}
 
=== การแบ่งเขตการปกครอง ===
{{บทความหลัก|เขตการปกครองของจีน}}
{{บทความหลัก|เขตการปกครองของจีน}} สาธารณรัฐประชาชนจีนมีอำนาจการปกครองเหนือ 22 มณฑล และถือว่าไต้หวันเป็นมณฑลที่ 23 ของตน ถึงแม้ว่าจะยังไม่มีอำนาจการปกครองเหนือไต้หวันซึ่งปัจจุบันอยู่ภายใต้การปกครองของ[[สาธารณรัฐจีน]] การอ้างสิทธิ์เหนือดินแดนของสาธารณรัฐประชาชนจีนถูกคัดค้านโดยสาธารณรัฐจีน<ref name="Ref_ap">Gwillim Law (2 April 2005). [http://www.statoids.com/ucn.html Provinces of China]. Retrieved 15 April 2006.</ref> นอกจากนี้ยังแบ่งเขตการปกครองเป็นเขตปกครองตนเอง 5 แห่ง แต่ละแห่งมีชื่อตามชนกลุ่มน้อยที่อาศัยอยู่นั้น เทศบาลนคร 4 แห่ง และเขตบริหารพิเศษ 2 แห่ง ซึ่งมีสิทธิ์ปกครองตนเองอยู่ในระดับหนึ่ง ดินแดนเหล่านี้อาจถูกเรียกรวมกันว่า "จีนแผ่นดินใหญ่" ซึ่งมักยกเว้นฮ่องกงและมาเก๊า
 
{| class="navbox" style="width:100%; background:none; border:0px; text-align:left; valign:top;"
เส้น 346 ⟶ 347:
== ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ==
{{บทความหลัก|ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของสาธารณรัฐประชาชนจีน}}
 
=== ความสัมพันธ์กับราชอาณาจักรไทย ===
{{กล่องข้อมูล ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ|สาธารณรัฐประชาชนจีน – ไทย|สาธารณรัฐประชาชนจีน|ไทย|map=People's Republic of China Thailand Locator.png}}
เส้น 358 ⟶ 360:
เมื่อปี 2548 ซึ่งเป็นปีครบรอบ 30 ปีของการสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตอย่างเป็นทางการระหว่างปไทยและจีน ทั้งสองประเทศจะมีการจัดกิจกรรมเฉลิมฉลองร่วมกันเป็นจำนวนมาก เพื่อแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ที่แนบแน่นและใกล้ชิดกันเป็นพิเศษระหว่างทั้งสองประเทศ อาทิ การแลกเปลี่ยนการเยือนในระดับผู้นำ โดย[[นายกรัฐมนตรีไทย]] [[ทักษิณ ชินวัตร|พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร]] ได้เดินทางเยือนจีน อย่างเป็นทางการเมื่อเดือนกรกฎาคม 2548 เพื่อร่วมฉลองในกิจกรรมต่างๆ ที่รัฐบาลไทย และรัฐบาลจีนร่วมกันจัดขึ้นที่ประเทศจีน การจัดกิจกรรมฉลองร่วม การจัดทำหนังสือที่ระลึก การจัดงานสายสัมพันธ์สองแผ่นดิน และการแลกเปลี่ยนเยาวชน เป็นต้น
 
ล่าสุด นายกรัฐมนตรีได้เดินทางเยือนนคร[[หนานหนิง]] เมื่อวันที่ 30 - 31 ตุลาคม 2549 เพื่อเข้าร่วมการประชุมสุดยอดอาเซียน-จีนสมัยพิเศษ ที่จัดขึ้นในโอกาสที่อาเซียนและจีนฉลองความสัมพันธ์ครบรอบ 15 ปี โดยได้พบหารือกับผู้นำระดับรัฐบาลและระดับท้องถิ่นของจีน รวมถึงผู้นำอีก 9 ประเทศของอาเซียน ซึ่งการเยือนประสบผลสำเร็จอย่างดี
 
* เศรษฐกิจและการค้า
{{โครง-ส่วน}}
เมื่อวันที่ 18 มิถุนายน 2546 ได้มีการลงนามความตกลงเร่งลดภาษีสินค้าผักและผลไม้ระหว่างไทย -จีน ซึ่งช่วยลดอุปสรรคด้านภาษีในการค้าสินค้าผักและผลไม้ (สินค้าพิกัดภาษี 07 08) ทั้งประเทศไทย และ จีน มีความพร้อมในการลดภาษีอยู่แล้ว ซึ่งได้มีผลยกเว้นภาษีสำหรับสินค้า 116 รายการ ในพิกัดภาษี 07 08 ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2546
 
เส้น 367 ⟶ 369:
* การค้าไทย และ จีน ในปี 2549 มีมูลค่า 25,154.6 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้นร้อยละ 23.75 [[ประเทศไทย]]ส่งออก 11,708.9 ล้านดอลลาร์สหรัฐ และนำเข้า 13,445.7 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
 
สินค้าที่ทางการจีนนำเข้าจากไทยที่สำคัญมากที่สุดคือ สายอากาศและเครื่องสะท้อนสัญญาณทางอากาศ [[พลาสติก]] [[มันสำปะหลัง]] [[คอมพิวเตอร์]]และส่วนประกอบ [[ไดโอด]] [[ทรานซิสเตอร์]]และอุปกรณ์กึ่งตัวนำ แผงวงจรไฟฟ้า ไม้ที่เลื่อยแล้ว ส่วนสินค้าที่จีนส่งออกมาไทยที่สำคัญ ผลิตภัณฑ์[[เหล็กกึ่งสำเร็จรูป]] ผลิตภัณฑ์[[แผ่นเหล็กรีดร้อน]] เครื่องอุปกรณ์ไฟฟ้าสำหรับโทรศัพท์หรือโทรเลขแบบใช้สาย เงิน ตะกั่ว
 
การลงทุนของไทยในจีนเมื่อปี 2548 ไทยลงทุนในจีนรวม 95.90 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยลงทุนในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ [[ธัญพืช]] [[ฟาร์มสัตว์]] [[มอเตอร์ไซค์]] [[โรงแรม]] [[ร้านอาหาร]] [[การนวดแผนไทย]] ส่วนการลงทุนของจีนในไทยในปีเดีวกัน จีนลงทุนในไทยรวม 2,286 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยลงทุนในกิจการอุตสาหกรรมเบา อุตสาหกรรมเคมีภัณฑ์ กระดาษ และพลาสติก และอุตสาหกรรมโลหะพื้นฐานการลงทุนที่จีนได้รับอนุมัติจากรัฐบาลจีนมีจำนวนทั้งสิ้น 15 โครงการ ประกอบด้วยกิจการก่อสร้าง การค้า ธนาคาร การแปรรูปโลหะ การท่องเที่ยว อสังหาริมทรัพย์ สายการบิน เครื่องจักร ร้านอาหาร และชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์
 
* การทหาร
{{โครง-ส่วน}}
 
* การท่องเที่ยว
{{โครง-ส่วน}}
 
=== สภาพทางการทูตโดยสังเขป ===
* [[นโยบายทางการทูตของจีน]]
* [[นโยบายทางการทูตของจีน]]
* [[ความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอเมริกา ญี่ปุ่น และรัสเซีย]]
* [[ความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอเมริกา]]
* [[ความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับญี่ปุ่น]]
* [[ความสัมพันธ์ระหว่างจีนรัสเซีย]]
* [[องค์การระหว่างประเทศกับจีน]]
* [[อาเซียนกับจีน]]
* [[องค์การความร่วมมือแห่งเซี่ยงไฮ้กับจีน]]
* [[สหประชาชาติกับจีน]]
* [[องค์การเอเปกกับจีน]]
* [[องค์การการค้าโลกกับจีน]]
 
== กองทัพ ==
{{บทความหลัก|กองทัพปลดปล่อยประชาชน}}
 
ตั้งแต่ก่อตั้งเป็นสาธารณรัฐประชาชนจีนเมื่อปี [[พ.ศ. 2492]] กองทัพของประเทศจีนได้เติบโตอย่างรวดเร็วกองทัพเรือ ตำรวจมีอาวุธในข้อตกลงที่แท้จริงของ[[กองทัพแดง]] ปัจจุบันสาธารณรัฐประชาชนจีนเป็นกองทัพที่ใหญ่ที่สุดในโลกซึ่ง[[อาวุธ]]ที่มีนั้นส่วนใหญ่จะมาจาก[[ประเทศรัสเซีย]] จีนเพิ่มกำลังทางทหารสูงเป็นอันดับ 1 ของเอเชียและอันดับที่ 4 ของโลก หลังจากการล่มสลายของ[[สหภาพโซเวียต]]ทำให้สถานะของยุคหลัง[[สงครามโลก]] หรือที่เรียกกันว่ายุค[[สงครามเย็น]]ได้ยุติลง ได้ส่งผลให้ขั้วของการเป็นมหาอำนาจได้เปลี่ยนแปลงไป[[สหรัฐอเมริกา]]เองปรารถนาที่จะเป็นขั้วอำนาจขั้วเดียวในโลกโดยดำเนินยุทธศาสตร์ที่มุ่งไปสู่ความเป็นมหาอำนาจชาติเดียว ในขณะเดียวกันประเทศที่ศักยภาพอย่างจีนได้พยายามที่จะพัฒนาตนเองไปสู่ประเทศมหาอำนาจ โดยการเร่งพัฒนาหลาย ๆ ด้าน และที่ขาดไม่ได้นั่นคือ การพัฒนาให้กองทัพมีศักย์ในการดำเนินสงครามโดยการปรับปรุงให้กองทัพให้มีความทันสมัยในช่วง 10 ปี แรกนั้น ภัยคุกคามหลักของจีนนั้นมุ่งไปที่[[สหภาพโซเวียต]] ในขณะที่ปัญหา[[ไต้หวัน]]ยังเป็นเรื่องที่มีความสำคัญในระดับต่ำ ต่อมาในช่วง พ.ศ. 2538 – 2539 (ค.ศ. 1995 – 1996) ปัญหาเกิดขึ้นบริเวณเกาะไต้หวัน เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงภายใน ทำให้ทิศทางของการพัฒนากองทัพมุ่งไปสู่การรองรับภัยคุกคามที่เกิดจากการพยายามแยกตัวของไต้หวันตั้งแต่ [[พ.ศ. 2542]] (ค.ศ. 1999) เป็นต้นมา กองกำลังทางบกได้รับอาวุธและยุทโธปกรณ์พิเศษที่ใหม่ และหลากหลายที่จีนผลิตเองเข้าประจำการ เช่น [[รถถัง]]หลัก รถถังสะเทินน้ำสะเทินบก รถสายพานลำเลียงพล ปืนใหญ่อัตตาจร อาวุธนำวิถีพื้นสู่อากาศ ระบบป้องกันภัยทางอากาศ [[คอมพิวเตอร์]] ระบบสื่อสารผ่านดาวเทียม อุปกรณ์สื่อสารอื่นๆ กล้องมองกลางคืน อากาศยานไร้คนขับ (UAV) ฯลฯ
{{โครง-ส่วน}}
 
== เศรษฐกิจ ==
เส้น 412 ⟶ 414:
[[ไฟล์:Shanghai Science & Technology Museum Station.jpg|thumb|200px|right|รถไฟใต้ดินใน[[เซี่ยงไฮ้]]]]
 
เมื่อราวๆ กลางเดือนมิถุนายนที่ผ่านมา มีการวิพากษ์ในหนังสือพิมพ์จีนว่าด้วย การทบทวนและประเมินการพัฒนาอุตสาหกรรมจีนตั้งแต่ต้นศตวรรษที่ 20 จนปัจจุบัน และเปรียบเทียบกับการพัฒนาอุตสาหกรรมหลังเปิดประเทศปฏิรูปเศรษฐกิจ ซึ่งมีหลากหลายความเห็นที่น่าสนใจที่ไทยอาจต้องศึกษา เพื่อนำมาใช้เป็นประโยชน์ต่อการกำหนดนโยบายหรือยุทธศาสตร์ในการพัฒนาอุตสาหกรรมและการลงทุนของประเทศ
 
เนื่องจาก'''ประเทศจีน'''ได้เริ่มพัฒนาตามแบบฉบับอุตสาหกรรมใหม่ (ปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 1) ประมาณร้อยกว่าปีที่แล้ว ในช่วงเวลาใกล้เคียงกับ[[ประเทศญี่ปุ่น]]และ[[ประเทศไทย]] และเกิดการชะงักงันเป็นเวลาหลายสิบปีจวบจนกลาง[[ศตวรรษที่ 20]] และเกือบหยุดสนิทประมาณ 30 ปี เสร็จแล้วใช้เวลาอีก 20 ปี ในการพัฒนาแบบก้าวกระโดดจนกระทั่งเป็นผู้นำใน[[อุตสาหกรรม]]และ[[เทคโนโลยี]]ในหลายๆ ด้านของ[[โลก]]
 
นักวิชาการจีนดังกล่าวมีความเห็นว่า ที่จีนสามารถพัฒนาจนเป็นเช่นนี้ เกิดจากกระแสความคิด 2 กระแส
# '''กระแสแรก''' จีนได้วางพื้นฐานอุตสาหกรรมหนักไว้ตั้งแต่ต้นและไม่เคยละทิ้ง เช่น อุตสาหกรรมเหล็ก เครื่องจักรกล เคมี จึงกลายเป็นพื้นฐานรองรับและประกันการพัฒนา
# '''กระแสที่สอง''' ในช่วงที่จีนเปิดประเทศใหม่ๆ ว่าด้วยแนวทางที่จะนำเข้าเทคโนโลยีสมัยใหม่ มีกลุ่มหนึ่งเห็นคล้อยตามคำแนะนำของประเทศที่พัฒนาแล้วสมัยนั้นว่า ควรที่จะพัฒนาตามขั้นตอน เนื่องจากเทคโนโลยีจีนขณะนั้นล้าหลังอยู่มาก จึงเลือกนำเข้าเทคโนโลยีและผลิตภัณฑ์ที่อยู่ในระดับก่อนหน้าสมัยนั้น 5-10 ปี
 
ถึงแม้เทคโนโลยีที่จีนใช้ในขณะนั้นจะล้าหลังใน[[สากลโลก]] แต่ถือว่าทันสมัยมากสำหรับจีน ในการผลิตและจำหน่ายในตลาดของจีน ซึ่งรับความนิยมสูงมาก เช่น รถยนต์ จักรยานยนต์ เครื่องใช้ไฟฟ้าในครัวเรือน
 
ขณะเดียวกัน ก็มีอีกกลุ่มหนึ่งที่เห็นว่า พื้นฐานทางวิชาการและเทคโนโลยีจีนพร้อมอยู่แล้ว จึงเลือกที่จะก้าวกระโดดโดยซื้อเทคโนโลยีที่ทันสมัยที่สุด ณ ขณะนั้น เช่น ในอุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีชีวภาพ เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และการสื่อสาร เทคโนโลยีอวกาศ อุตสาหกรรมเหล็ก ปรากฏในภายหลังว่า ทั้งสองกลุ่มได้พบจุดบรรจบกันในช่วงสิ้นศตวรรษที่ 20 และนำมาซึ่งความร่วมมือในการพัฒนาเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมอีกระลอกดังที่เห็นกันขณะนี้
เส้น 427 ⟶ 429:
 
=== การท่องเที่ยว ===
รัฐบาล ไทยและจีนได้ทำความตกลงว่าด้วยความร่วมมือด้านการท่องเที่ยว เมื่อเดือนสิงหาคม 2536 เพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านการตลาดและการส่งเสริมการท่องเที่ยวระหว่าง ประเทศ อย่างไรก็ตาม รัฐบาลจีนได้อนุญาตให้ชาวจีนเดินทางท่องเที่ยวนอกประเทศโดยให้อยู่ภายใต้การควบคุมของรัฐบาลเท่านั้น ประเทศไทยเป็นกลุ่มแรกร่วมกับสิงคโปร์และมาเลเซียที่ได้รับอนุญาตให้ชาวจีน เดินทางออกไปท่องเที่ยว[http://bkkfly.com/airticket/china-airticket.html ทัวร์จีน] และจำนวนนักท่องเที่ยวจีนที่เดินทางมาประเทศไทยเฉลี่ยเพิ่มสูงขึ้นเป็นลำดับ ทำรายได้ให้แก่ประเทศอย่างมาก โดยในขณะเดียวกัน จำนวนนักท่องเที่ยวชาวไทยที่เดินทางมาเที่ยวจีนก็เพิ่มมากขึ้น โดยปี 2557 นักท่องเที่ยวไทยไปเที่ยวจีนจำนวน 613,100 คน (ครั้ง)
 
ในปี 2557 มีนักท่องเที่ยวจีนเดินทางไปประเทศไทยจำนวน 4,422,100 คน(ครั้ง) จีนเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวเยอะที่สุดไปเที่ยวไทย
เส้น 434 ⟶ 436:
=== การคมนาคม และ โทรคมนาคม ===
==== คมนาคม ====
{{โครง-ส่วน}}
 
==== โทรคมนาคม ====
{{โครง-ส่วน}}
 
=== วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ===
เส้น 445 ⟶ 447:
 
=== การศึกษา ===
จีนเป็นประเทศที่มีประชากรมากถึง 1,320 ล้านคน อีกทั้งยังมีชนกลุ่มน้อยอีกจำนวนมาก มีจำนวนนักเรียนนักศึกษาทั้งประเทศ 320 ล้านคน มีโรงเรียนจำนวน 680,000 โรงเรียน เจ้าหน้าที่เกี่ยวกับการศึกษาประมาณ 16 ล้านคน ซึ่งนับเป็นจำนวนที่สูงติดอันดับต้น ๆ ของโลก
 
มีจำนวนนักเรียนนักศึกษาทั้งประเทศ 320 ล้านคน มีโรงเรียนจำนวน 680,000 โรงเรียน
ดังนั้นรัฐบาลประเทศจีนจึงให้ความสำคัญอย่างยิ่งกับการพัฒนาด้านการศึกษาของประเทศ ระบบการศึกษาของจีนวางแผนโดยรัฐบาลกลาง โดยมีกระทรวงศึกษาธิการจีนเป็นหน่วยงาน หลักที่สำคัญที่สุดในการควบคุมดูแลระบบการศึกษา รับผิดชอบโดยตรงในเรื่องของการบัญญัติ กฎหมาย กำหนดนโยบายและแผนงานด้านการศึกษา ดูแลและวางแผนการพัฒนาระบบการศึกษาจีน ปรับเปลี่ยนนโยบายของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านการศึกษา ให้เป็นแนวทางเดียว กันทั้งประเทศ การศึกษาภาคบังคับคือการศึกษาในระดับประถมศึกษา 6 ปี และมัธยมศึกษาตอนต้น 3 ปี รวมเป็น 9 ปี รัฐบาลจีนให้ความสำคัญต่อการรับชาวต่างชาติเข้ามาศึกษาในจีนอย่างมาก ถือเป็นการสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างประเทศจีนและประเทศอื่นๆ ปัจจุบันมีนัก เรียนจากประเทศไทยที่กำลังศึกษาอยู่ในประเทศจีนประมาณ 2,500 คน ระบบการศึกษา ประเทศจีนแบ่งออกเป็น 4 ระดับ ได้แก่
เจ้าหน้าที่เกี่ยวกับการศึกษาประมาณ 16 ล้านคน ซึ่งนับเป็นจำนวนที่สูงติดอันดับต้นๆ ของโลก
 
ดังนั้นรัฐบาลประเทศจีนจึงให้ความสำคัญอย่างยิ่งกับการพัฒนาด้านการศึกษาของประเทศ
ระบบการศึกษาของจีนวางแผนโดยรัฐบาลกลาง โดยมีกระทรวงศึกษาธิการจีนเป็นหน่วยงาน หลักที่สำคัญที่สุดในการควบคุมดูแลระบบการศึกษา รับผิดชอบโดยตรงในเรื่องของการบัญญัติ กฎหมาย กำหนดนโยบายและแผนงานด้านการศึกษา ดูแลและวางแผนการพัฒนาระบบการ
ศึกษาจีน ปรับเปลี่ยนนโยบายของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านการศึกษา ให้เป็นแนวทางเดียว กันทั้งประเทศ การศึกษาภาคบังคับคือการศึกษาในระดับประถมศึกษา 6 ปี และมัธยมศึกษา
ตอนต้น 3 ปี รวมเป็น 9 ปี รัฐบาลจีนให้ความสำคัญต่อการรับชาวต่างชาติเข้ามาศึกษาในจีน
อย่างมาก ถือเป็นการสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างประเทศจีนและประเทศอื่นๆ ปัจจุบันมีนัก เรียนจากประเทศไทยที่กำลังศึกษาอยู่ในประเทศจีนประมาณ 2,500 คน ระบบการศึกษา ประเทศจีนแบ่งออกเป็น 4 ระดับ ได้แก่
'''1. การศึกษาขั้นพื้นฐาน'''
การศึกษาขั้นพื้นฐาน หมายถึง การศึกษาในระดับประถมศึกษา (6 ปี) ระดับมัธยมต้นและมัธยมปลาย (6 ปี) เนื่องจากการศึกษาระดับประถมศึกษาเป็นการศึกษาภาคบังคับ ดังนั้น โรงเรียน ประถมโดยทั่วไปจะเป็นโรงเรียนของรัฐโดยจัดให้นักเรียนเข้าเรียนในโรงเรียน ใกล้บ้านรัฐบาลจีนพยายามที่จะพัฒนาให้ประชาชนทั่วประเทศได้รับโอกาสทางการ ศึกษาอย่างเท่าเทียมกันในขณะเดียวกันก็พยายามที่จะสร้างศูนย์กลางการศึกษาในเขต พื้นที่ ชนบทการศึกษาระดับมัธยมต้นของจีนมีระยะเวลา 3 ปี โรงเรียนมัธยมต้นในจีนส่วนใหญ่เป็นโรงเรียนที่จัดตั้งโดยรัฐบาล เนื่องจากยังเป็นการศึกษาภาคบังคับ หลังจากจบการศึกษาระดับประถมศึกษาแล้ว นักเรียนต้องสอบเข้าเพื่อศึกษาต่อในระดับมัธยมต้นโดยโรงเรียนที่จะศึกษาต่อจะกำหนดจากที่อยู่และความต้องการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน หมายถึง การศึกษาในระดับประถมศึกษา (6 ปี) ระดับมัธยมต้นและ
 
มัธยมปลาย (6 ปี) เนื่องจากการศึกษาระดับประถมศึกษาเป็นการศึกษาภาคบังคับ ดังนั้น
โดยส่วนตัวของนักเรียนเอง การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในจีนแบ่งออกเป็นมัธยม ปลายทั่วไป มัธยมปลายด้านวิชาชีพ และอาชีวศึกษา โดยการศึกษาระดับมัธยมปลายของจีนใช้เวลา 3 ปี และเป็นระดับการศึกษาที่ไม่บังคับ ดังนั้นนักเรียนจะต้องรับผิดชอบค่าเล่าเรียนเอง โรงเรียนมัธยมปลายในจีนส่วนใหญ่จะเป็นโรงเรียนของรัฐ แต่ก็มีบางส่วนที่เป็นโรงเรียน เอกชน ทั้งนี้การเข้าเรียนในระดับมัธยมปลายในจีนจำเป็นต้องสอบเข้า โดยดูจากระดับ คะแนนที่สอบได้
โรงเรียน ประถมโดยทั่วไปจะเป็นโรงเรียนของรัฐโดยจัดให้นักเรียนเข้าเรียนในโรงเรียน ใกล้บ้านรัฐบาลจีนพยายามที่จะพัฒนาให้ประชาชนทั่วประเทศได้รับโอกาสทางการ ศึกษา
 
อย่างเท่าเทียมกันในขณะเดียวกันก็พยายามที่จะสร้างศูนย์กลางการศึกษาในเขต พื้นที่ ชนบทการศึกษาระดับมัธยมต้นของจีนมีระยะเวลา 3 ปี
'''2. การศึกษาด้านวิชาชีพ'''การศึกษาด้านวิชาชีพ หมายถึง โรงเรียนด้านวิชาชีพ รวมถึงหลักสูตรอบรมวิชาชีพระยะสั้น ปัจจุบันสถานการณ์การเติบโตของการศึกษาด้านอาชีพมีการเปลี่ยนแปลงคือ การศึกษาด้าน เศรษฐกิจการคลัง พลศึกษา ศิลปกรรม มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น ส่วนการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ มีแนวโน้มลดลง
โรงเรียนมัธยมต้นในจีนส่วนใหญ่เป็นโรงเรียนที่จัดตั้งโดยรัฐบาล เนื่องจากยังเป็นการ
 
ศึกษาภาคบังคับ หลังจากจบการศึกษาระดับประถมศึกษาแล้ว นักเรียนต้องสอบเข้าเพื่อ
ศึกษาต่อในระดับมัธยมต้นโดยโรงเรียนที่จะศึกษาต่อจะกำหนดจากที่อยู่และความต้องการ
โดยส่วนตัวของนักเรียนเอง การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในจีนแบ่งออกเป็นมัธยม ปลายทั่วไป มัธยมปลายด้านวิชาชีพ และอาชีวศึกษา โดยการศึกษาระดับมัธยมปลายของจีนใช้
เวลา 3  ปี และเป็นระดับการศึกษาที่ไม่บังคับ ดังนั้นนักเรียนจะต้องรับผิดชอบค่าเล่าเรียนเอง
โรงเรียนมัธยมปลายในจีนส่วนใหญ่จะเป็นโรงเรียนของรัฐ แต่ก็มีบางส่วนที่เป็นโรงเรียน เอกชน ทั้งนี้การเข้าเรียนในระดับมัธยมปลายในจีนจำเป็นต้องสอบเข้า โดยดูจากระดับ คะแนนที่สอบได้
'''2. การศึกษาด้านวิชาชีพ'''การศึกษาด้านวิชาชีพ หมายถึง โรงเรียนด้านวิชาชีพ รวมถึงหลักสูตรอบรมวิชาชีพระยะสั้น ปัจจุบันสถานการณ์การเติบโตของการศึกษาด้านอาชีพมีการเปลี่ยนแปลงคือ การศึกษาด้าน เศรษฐกิจการคลัง พลศึกษา ศิลปกรรม มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น ส่วนการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ มีแนวโน้มลดลง
'''3. การศึกษาระดับอุดมศึกษา'''
การศึกษาระดับอุดมศึกษา หมายถึง การศึกษาระดับอนุปริญญา ระดับปริญญาตรี ปริญญาโท รวมถึงการศึกษาระดับปริญญาเอก การศึกษาระดับอุดมศึกษาของจีนมีการพัฒนาอย่างต่อ เนื่อง ภายหลังปี 1981 เป็นต้นมา จีนได้เริ่มจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาตามแบบสากลทั่วไป ที่ชัดเจน โดยแบ่งเป็น 3 ระดับคือ ปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก
 
ปัจจุบันมหาวิทยาลัยในจีนมีจำนวนประมาณ 3,000 แห่ง โดย 2 ใน 3 เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ
ปัจจุบันมหาวิทยาลัยในจีนมีจำนวนประมาณ 3,000 แห่ง โดย 2 ใน 3 เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ และ 1 ใน 3 เป็นมหาวิทยาลัยเอกชน การเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยของจีนจำเป็นต้องผ่านการ สอบเข้าศึกษา โดยดูจากระดับคะแนนในการสอบ มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงในจีนส่วนใหญ่จะ เป็น มหาวิทยาลัยของรัฐ
 
'''4. การศึกษาผู้ใหญ่'''
 
เส้น 474 ⟶ 468:
 
=== สาธารณสุข ===
ในปี พ.ศ. 2492 ก่อนการปฏิวัติ ประเทศจีนมีปัญหาเรื่องอหิวาตกโรคระบาดเป็นอันมาก แต่ในปัจจุบันจีนไม่พบกับปัญหานี้เลย เพราะโรคนี้ได้หายไปจากประเทศจีนแล้ว ที่น่าสนใจมากกว่านั้นคือ เขาบอกว่าพบโรคโปลิโอ (poliomyclitis) และโรคหัด (measles) น้อยมากตั้งแต่ปี พ.ศ. 2526 เป็นต้นมา ซึ่งคาดว่าน่าจะเป็นผลจากการฉีดวัคซีนซึ่งครอบคลุมประชากรสูงมาก โรคติดต่ออื่นๆอื่น ๆ เช่น โรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ (encephalitis) โรคไอกรนก็ปรากฏว่าจำนวนผู้เจ็บป่วยและตายจากโรคเหล่านี้ลดลงเป็นอันมาก
 
สิ่งหนึ่งที่ทำให้ปรากฏการณ์ต่างๆเหล่านี้เกิดขึ้นก็คือ เจตจำนงทางการเมืองหรือนโยบายของรัฐบาลที่ให้ความสำคัญกับการสาธารณสุขสูง ประมาณกันว่างบประมาณทางด้านสาธารณสุขของประเทศนั้น จีนได้เจียดจ่ายงบประมาณของประเทศให้กับกิจกรรมทางด้านสาธารณสุขถึง 9.22 % ของงบประมาณทั้งหมด ซึ่งสูงกว่าประเทศกำลังพัฒนาส่วนใหญ่ รวมทั้งประเทศไทย (ของไทยรัฐบาลให้งบประมาณเพื่อกิจกรรมสาธารณสุขสำหรับประชาชนประมาณ 4.4% ของงบประมาณทั้งหมดของประเทศ)
เส้น 528 ⟶ 522:
ระบบ 3 ระดับ (Three-tier system) ถูกนำมาใช้ตั้งแต่หลังการปฏิวัติ อย่างไรก็ตาม จีนใหม่ภายใต้การนำของเติ้งเสี่ยวผิง ซึ่งเน้นการพัฒนาเทคโนโลยีและ 4 ทันสมัย ทำให้ระบบการสร้างแรงจูงใจเดิมที่เคยเป็นอยู่เปลี่ยนแปลงไป เช่น หมอหมู่บ้านหรือหมอเท้าเปล่า ปัจจุบันจะถูกนำมาพัฒนาให้มีความรู้ความสามารถเพิ่มมากขึ้น แตกต่างจากแต่ก่อนมาก แต่ขณะเดียวกัน เมื่อกลับไปปฏิบัติงานในชุมชนของตนเองแล้วอาจไม่ได้รับค่าตอบแทนในลักษณะถูกว่าจ้างโดยชุมชน แต่รับค่าตอบแทนในลักษณะต่อการให้การบริการเป็นคนๆ พูดง่ายๆก็คือ เหมือนคลินิกเอกชนในบ้านเรา หมอหมู่บ้านจะคิดค่าบริการจากคนไข้โดยตรง ไม่ใช่จ่ายจากชุมชนมาให้ ในหมู่ประชาชนผู้รับบริการ
 
ภายใต้นโยบาย 4 ทันสมัย เน้นการพัฒนาเศรษฐกิจ ทำให้ชาวนาบางครอบครัวมีรายได้ดีขึ้นมากกว่าแต่ก่อน ก็จะสามารถแสวงหาบริการตามที่ต่างๆต่าง ๆ ตามกำลังซื้อของตนเองได้ ซึ่งทำให้เกิดปัญหาตามมาคือ ระบบการส่งต่อผู้ช่วย (referval system) ซึ่งมีการส่งต่อจากหมู่บ้านไปตำบล จากตำบลไปอำเภอเรื่อยไป ประชาชนสามารถไปเลือกหาบริการสาธารณสุขจากที่ใดก็ได้หากมีฐานะที่เพียงพอ ซึ่งเหมือนกับบ้านเราทำให้เกิดปัญหาไม่สามารถจัดระบบการส่งต่อผู้ป่วยให้ดี เมื่อจัดระบบไม่ได้ การวางแผนในแต่ละระดับจะเป็นไปด้วยความลำบาก ทำให้คนจะหลั่งไหลเข้าไปรับบริการในระดับที่สูงกว่า ซึ่งประชาชนคนไข้คิดว่ามีบริการที่มีคุณภาพมากกว่า เช่น ที่พบคนไข้จำนวนมากมายในโรงพยาบาลใหญ่ๆใหญ่ ๆ ในเมืองในปัจจุบันโดยที่โรคมากกว่าครึ่งสามารถรักษาโดยคนที่มีความรู้ความสามารถในระดับที่ต่ำกว่า เช่น อำเภอหรือตำบลได้ บังเอิญชาวนาร่ำรวยของประเทศจีนยังมีไม่มากนัก ปัญหานี้จึงยังไม่เกิดขึ้นมา แต่หากมีมากขึ้นเชื่อว่าปัญหานี้ในอนาคตจะทวีมากขึ้น
 
กล่าวโดยรวมได้ว่าการบริการของประเทศจีนมีการครอบคลุมค่อนข้างดี มีสถานบริการถึงทุกระดับ แม้แต่ในหมู่บ้าน ในระดับตำบลก็มีโรงพยาบาลซึ่งบริการได้ไม่น้อยกว่าโรงพยาบาลชุมชนในบ้านเราให้บริการอยู่ ทำให้ประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่ดีขึ้น อาจกล่าวโดยย่อได้ว่าปัจจัยที่สำคัญมากในการทำให้ประเทศจีนมีพัฒนาการสาธารณสุขที่ดีขึ้นน่าจะได้แก่
เส้น 541 ⟶ 535:
 
=== เชื้อชาติ ===
{{โครง-ส่วน}}
จีนเป็นประเทศเอกภาพที่มีหลายชนชาติ รัฐบาลจีนดำเนินนโยบายทางชนชาติที่ให้ ชนชาติต่าง ๆ มีความเสมอภาค สมานสามัคคีและช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เคารพและคุ้มครองสิทธิเสรีภาพในการนับถือศาสนาและขนบธรรมเนียมของชนชาติส่วนน้อยระบบปกครองตนเองในเขตชนชาติส่วนน้อยเป็นระบบการเมืองอันสำคัญอย่างหนึ่งของจีน คือ ให้ท้องที่ที่มีชนชาติส่วนน้อยต่าง ๆ อยู่รวม ๆ กันใช้ระบบปกครองตนเอง ตั้งองค์กรปกครองตนเองและใช้สิทธิอำนาจปกครองตนเอง ภายใต้การนำที่เป็นเอกภาพ ของรัฐ รัฐประกันให้ท้องที่ที่ปกครองตนเองปฏิบัติตามกฎหมายและนโยบายของรัฐตามสภาพที่เป็นจริงในท้องถิ่นของตน ฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ระดับต่าง ๆ บุคลากรทางวิชาการและ กรรมกรทางเทคนิคชนิดต่าง ๆ ของชนชาติส่วนน้อยเป็นจำนวนมาก ประชาชน ชนชาติต่าง ๆ ในท้องที่ที่ปกครองตนเองกับประชาชนทั่วปแระเทศรวมศูนย์กำลังดำเนิน การสร้างสรรค์สังคมนิยมที่ทันสมัย เร่งพัฒนาเศรษฐกิจและวัฒนธรรมในท้องที่ที่ ปก ครองตนเองให้เร็วขึ้นและสร้างสรรค์ท้องที่ที่ปกครองตนเองของชนชาติส่วนน้อยที่สมานสามัคคีกันและเจริญรุ่งเรือง ภายใต้การนำของพรรคคอมมิวนิสต์จีน
 
เส้น 555 ⟶ 549:
=== ศาสนา ===
{{บทความหลัก|ศาสนาในประเทศจีน}}
{{โครง-ส่วน}}
ประชาชนจีนมีทั้งสิ้น 56 ชนเผ่า ส่วนใหญ่นับถือ[[ศาสนาพุทธ]] โดยนับถือนิกาย[[มหายาน]]และ[[วัชรยาน]]โดยนับถือปนไปกับ[[ลัทธิขงจื้อ]]และ[[ลัทธิเต๋า]]กว่า 300 ล้านคน นอกนั้นนับถือนิกาย[[เถรวาท]] มีนับถือ[[ศาสนาอิสลาม]]กว่า 11 ล้านคน และนับถือ[[ศาสนาคริสต์]]อีก5.2 ล้านคน
 
เส้น 570 ⟶ 564:
=== กีฬา ===
{{บทความหลัก|จีนในโอลิมปิก|จีนในพาราลิมปิก}}
 
==== ฟุตบอล ====
{{บทความหลัก|สมาคมฟุตบอลจีน|ฟุตบอลทีมชาติจีน|ฟุตซอลทีมชาติจีน}}
{{โครง-ส่วน}}
 
==== มวยสากล ====
{{บทความหลัก|สมาคมมวยสากลจีน|มวยสากลในจีน}}
{{โครง-ส่วน}}
 
== วัฒนธรรม ==
เส้น 582 ⟶ 577:
 
=== สถาปัตยกรรม ===
{{โครง-ส่วน}}
 
=== วรรณกรรม ===
{{โครง-ส่วน}}
 
=== ดนตรี และ นาฎศิลป์ ===
{{โครง-ส่วน}}
 
=== อาหาร ===
{{บทความหลัก|อาหารจีน}}
{{โครง-ส่วน}}
 
=== สื่อสารมวลชน ===
{{บทความหลัก|สื่อสารมวลชนในสาธารณรัฐประชาชนจีน}}
{{โครง-ส่วน}}
 
=== วันหยุด ===
เส้น 607 ⟶ 602:
# วันไหว้พระจันทร์ (中秋节)
# วันชาติ (国庆节)<ref>http://www.gov.cn/zhengce/content/2017-11/30/content_5243579.htm</ref>
{{โครง-ส่วน}}
 
== ดูเพิ่ม ==
เส้น 614 ⟶ 609:
* [[พุทธศาสนาในประเทศจีน]]
* [http://www.thaichinese.net ศิลปวัฒนธรรมจีน]
 
== หมายเหตุ ==
{{Notelist}}
 
== อ้างอิง ==