ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงเรียนเตรียมทหาร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
PANARIN (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มเอกสารอ้างอิง ,จัดเรียงหน้าใหม่ ,เพิ่มเติมข้อมูลให้ทันสมัย และลบเนื้อหาที่ไม่จำเป็นออก รวมทั้งปรับปรุงบทความจากผู้ที่เป็นกลาง เพื่อไม่ให้เข้าข่ายการโฆษณาสถานศึกษา
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{โฆษณา}}
{{กล่องข้อมูล มหาวิทยาลัย
| image_name = ไฟล์:ตราโรงเรียนเตรียมทหาร.jpg
เส้น 6 ⟶ 4:
| name = โรงเรียนเตรียมทหาร
| native_name = Armed Forces Academies Preparatory School
| establish_date = {{วันเกิด-อายุ|2501|1|27}}
| established = 27 มกราคม พ.ศ. 2501
| type = [[โรงเรียนทหาร-ตำรวจ]]
| under_study = [[สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ]] <br> [[กองบัญชาการกองทัพไทย]]
เส้น 19 ⟶ 17:
'''โรงเรียนเตรียมทหาร''' ({{lang-en | Armed Forces Academies Preparatory School }}) เป็นสถาบันการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สังกัดสถาบันวิชาการป้องกันประเทศ [[กองบัญชาการกองทัพไทย]] และเป็นสถาบันการศึกษาแห่งเดียวในประเทศไทย ที่เป็นศูนย์รวมเบื้องต้นสำหรับผู้ที่จะเข้าศึกษาต่อใน[[โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า]] [[โรงเรียนนายเรือ]] [[โรงเรียนนายเรืออากาศนวมินทกษัตริยาธิราช]] และ[[โรงเรียนนายร้อยตำรวจ]] ผู้ที่ศึกษาในโรงเรียนเตรียมทหาร เรียกว่า ''นักเรียนเตรียมทหาร (นตท.) ''
 
การรับสมัครบุคคลพลเรือนเข้าเป็นนักเรียนเตรียมทหารนั้น โรงเรียนเตรียมทหารมิได้เป็นผู้ดำเนินการสอบคัดเลือกนักเรียนเตรียมทหารด้วยตนเอง หากแต่[[โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า]] [[โรงเรียนนายเรือ]] [[โรงเรียนนายเรืออากาศ]] และ[[โรงเรียนนายร้อยตำรวจ]] จะเป็นผู้ดำเนินการสอบคัดเลือก โดยในแต่ละปีจะมีการกำหนดจำนวนรับนักเรียนเตรียมทหารในส่วนของ[[กองทัพบก]] [[กองทัพเรือ]] [[กองทัพอากาศ]] และ[[สำนักงานตำรวจแห่งชาติ]] จากนั้นแต่ละเหล่าทัพจะส่งผู้ผ่านการสอบคัดเลือกมาเรียนรวมกันที่โรงเรียนเตรียมทหาร เป็นเวลา 2 ปี
 
ภายหลังจากที่สำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรของโรงเรียนเตรียมทหารแล้ว นักเรียนเตรียมทหารเหล่านี้จะเข้าศึกษาต่อในโรงเรียนเหล่าทัพ ([[โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า]] [[โรงเรียนนายเรือ]] [[โรงเรียนนายเรืออากาศ]] และ[[โรงเรียนนายร้อยตำรวจ]]) ตามที่นักเรียนได้สมัครและผ่านการสอบคัดเลือก
 
เมื่อสำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนเหล่าทัพ หรือโรงเรียนนายร้อยตำรวจแล้ว นักเรียนนายร้อยเหล่านี้ จะได้รับการบรรจุเข้ารับราชการเป็นนายทหาร และนายตำรวจชั้นสัญญาบัตร พร้อมทั้งเข้ารับพระราชทานกระบี่จาก[[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร|พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]] หรือ[[พระบรมวงศานุวงศ์]]ที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้เสด็จแทนพระองค์<ref>http://www.bangkokbiznews.com/news/detail/510853สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี เสด็จฯพระราชทานกระบี่และปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษาร.ร.นายร้อยพระจุลจอมเกล้าและร.ร.นายร้อยตำรวจ</ref>
 
== ประวัติ ==
 
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ไฟล์:Armed Forces Academies Preparatory School, Thailand 04.jpg|300px|thumbnail|บรรยากาศภายในโรงเรียนเตรียมทหาร]]
เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2500 ฯพณฯ จอมพล[[ถนอม กิตติขจร]] ขณะนั้นดำรงตำแหน่ง [[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย|รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม]] ได้เสนอดำริต่อสภากลาโหมว่า หากจะรวมโรงเรียนที่อยู่ในระดับการศึกษาเดียวกันจากกองทัพต่างๆต่าง ๆ เป็นสถาบันเดียวกันก็จะเป็นการประหยัดงบประมาณของชาติ ทั้งยังทำให้ผู้ศึกษามีโอกาสได้รู้จักคุ้นเคย มีความสนิทสนมกลมเกลียว มีความสามัคคีเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน มีความคิดจิตใจร่วมกันแต่เยาว์วัย ซึ่งจะส่งผลให้บุคคลเหล่านี้สามารถประสานงานกันได้ด้วยดีและปฏิบัติงานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ สภากลาโหมได้เห็นชอบในดำรินี้เป็นเอกฉันท์ ในขั้นแรกให้รวม[[โรงเรียนเตรียมนายร้อย]] [[โรงเรียนเตรียมนายเรือ]] และ[[โรงเรียนเตรียมนายเรืออากาศ]] เป็นโรงเรียนเตรียมทหาร สังกัดกรมการศึกษาวิจัย กองบัญชาการทหารสูงสุด เมื่อวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2501 จึงถือว่าวันที่ 27 มกราคมของทุกปี เป็นวันคล้ายวันสถาปนาโรงเรียนเตรียมทหาร ผู้บัญชาการคนแรกคือ พลเอกปิยะ สุวรรณพิมพ์ ซึ่งถือว่าเป็นปูชนียบุคคลของโรงเรียนเตรียมทหาร ในปี พ.ศ. 2506 กรมตำรวจได้ขอให้โรงเรียนเตรียมทหารรับนักเรียนเพื่อเข้าศึกษาต่อในโรงเรียนนายร้อยตำรวจด้วย โรงเรียนเตรียมทหารจึงเป็นศูนย์รวมเบื้องต้นสำหรับนายทหาร นายตำรวจ สมบูรณ์ครบถ้วยตามอุดมการณ์ที่ว่า "ความสามัคคี กลมเกลียว เป็นพลังอันสำคัญของชาติ"
 
ในปี พ.ศ. 2506 [[กรมตำรวจ]]ได้ขอให้โรงเรียนเตรียมทหารรับนักเรียนเพื่อเข้าศึกษาต่อใน[[โรงเรียนนายร้อยตำรวจ]]ด้วย โรงเรียนเตรียมทหารจึงเป็นศูนย์รวมเบื้องต้นสำหรับนายทหาร นายตำรวจ โดยสมบูรณ์ ในระยะแรกนั้นโรงเรียนเตรียมทหารยังไม่มีที่ตั้งถาวร ได้ใช้อาคาร[[โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า]] [[ถนนราชดำเนินนอก]] [[กรุงเทพมหานคร]] เป็นสถานที่เรียนชั่วคราว
ในระยะแรกนั้นโรงเรียนเตรียมทหารยังไม่มีที่ตั้งถาวร ได้ใช้อาคารโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า ถนนราชดำเนินนอก กรุงเทพมหานคร เป็นสถานที่เรียนชั่วคราว ต่อมาเมื่อวันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2504 โรงเรียนเตรียมทหารได้จัดให้มีพิธีวางศิลาฤกษ์สร้างโรงเรียนเตรียมทหารขึ้น ณ เลขที่ 1875 ถนนพระราม 4 แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร ซึ่งเดิมเป็นที่ตั้งของกองสัญญาณทหารเรือ มีพื้นที่ประมาณ 35 ไร่ 3 งาน 47 ตารางวา หลังจากได้สร้างโรงเรียนเสร็จเรียบร้อยแล้ว ได้ย้ายมาอยู่ที่พระราม 4 เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2504 ในปี พ.ศ. 2522 กองพันทหารสื่อสาร กองบัญชาการกองทัพบก และกองร้อยทหารสื่อสารซ่อมบำรุงเขตหลังกองบัญชาการกองทัพบก ได้ย้ายออกจากพื้นที่ที่อยู่ต่อเนื่องกัน โรงเรียนเตรียมทหารจึงได้รับพื้นนที่ทางด้านทิศตะวันตกและทิศเหนือเพิ่มอีก 91 ไร่ 62 ตารางวา รวมเป็น 127 ไร่ 9 ตารางวา
 
ในระยะแรกนั้นโรงเรียนเตรียมทหารยังไม่มีที่ตั้งถาวร ได้ใช้อาคารโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า ถนนราชดำเนินนอก กรุงเทพมหานคร เป็นสถานที่เรียนชั่วคราว ต่อมาเมื่อวันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2504 โรงเรียนเตรียมทหารได้จัดให้มีพิธีวางศิลาฤกษ์สร้างโรงเรียนเตรียมทหารขึ้น ณ [[เลขที่ 1875]] [[ถนนพระราม 4]] [[แขวงลุมพินี]] [[เขตปทุมวัน]] [[กรุงเทพมหานคร]] ซึ่งเดิมเป็นที่ตั้งของ[[กองสัญญาณทหารเรือ]] มีพื้นที่ประมาณ 35 ไร่ 3 งาน 47 ตารางวา หลังจากได้สร้างโรงเรียนเสร็จเรียบร้อยแล้ว ได้ย้ายมาอยู่ที่[[พระราม 4]] เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2504 ในปี พ.ศ. 2522 กองพันทหารสื่อสาร กองบัญชาการกองทัพบก และกองร้อยทหารสื่อสารซ่อมบำรุงเขตหลังกองบัญชาการกองทัพบก ได้ย้ายออกจากพื้นที่ที่อยู่ต่อเนื่องกัน โรงเรียนเตรียมทหารจึงได้รับพื้นนที่ทางด้านทิศตะวันตกและทิศเหนือเพิ่มอีก 91 ไร่ 62 ตารางวา รวมเป็น 127 ไร่ 9 ตารางวา
ในปี พ.ศ. 2537 พลอากาศเอก[[วรนาถ อภิจารี]] ผู้บัญชาการทหารสูงสุดในเวลานั้น ได้พิจารณาว่า สภาพแวดล้อมต่าง ๆ ของโรงเรียนเตรียมทหารได้เปลี่ยนแปลงไป พื้นที่โดยรอบกลายเป็นย่านชุมชนหนาแน่น ทั้งยังมีสภาพแวดล้อมเป็นมลพิษ อีกทั้งพื้นที่ของโรงเรียนเตรียมทหารมีข้อจำกัดต่อการเพิ่มขีดความสามารถในการผลิตนักเรียนเตรียมทหารและการพัฒนาโรงเรียนเตรียมทหารด้านต่างๆ ในอนาคต จึงได้ปรึกษากับ[[สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์]] ซึ่งเป็นเจ้าของพื้นที่ตั้งโรงเรียนเตรียมทหาร ถึงการย้ายที่ตั้งโรงเรียนเตรียมทหารไปยังสถานที่ตั้งแห่งใหม่ที่เหมาะสม ซึ่งได้รับการสนับสนุนการก่อสร้างจากสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ โดยได้มอบให้บริษัท คริสเตียนนีและนีลเส็น (ไทย) จำกัด (มหาชน) ซึ่งเป็นบริษัทในเครือของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ดำเนินการศึกษาความเป็นไปได้ต่างๆ ของโครงการย้ายโรงเรียนเตรียมทหาร รวมทั้งเสนอแนะพื้นที่ตั้งโครงการ ในที่สุดได้เลือกพื้นที่ตำบลศรีกะอาง อำเภอบ้านนา จังหวัดนครนายก เป็นที่ตั้งโรงเรียนเตรียมทหารแห่งใหม่ ได้รับการสนับสนุนจากกองทัพบกเจ้าของพื้นที่มอบพื้นที่ให้ดำเนินการประมาณ 2,460 ไร่ เป็นผลให้โครงการก่อสร้างโรงเรียนเตรียมทหารแห่งใหม่เกิดขึ้น
 
ในปี พ.ศ. 2522 [[กองพันทหารสื่อสาร]] [[กองบัญชาการกองทัพบก]] และ[[กองร้อยทหารสื่อสารซ่อมบำรุงเขตหลังกองบัญชาการกองทัพบก]] ได้ย้ายออกจากพื้นที่ที่อยู่ต่อเนื่องกัน โรงเรียนเตรียมทหารจึงได้รับพื้นนที่ทางด้านทิศตะวันตกและทิศเหนือเพิ่มอีก 91 ไร่ 62 ตารางวา รวมเป็น 127 ไร่ 9 ตารางวา
โครงการก่อสร้างโรงเรียนเตรียมทหารแห่งใหม่ได้เริ่มดำเนินการมาตั้งแต่เดือนสิงหาคม 2539 และได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพลเอกหญิง[[สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี]] เสด็จพระราชดำเนินทรงวางศิลาฤกษ์ เมื่อวันอังคารที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2541 ต่อมากองบัญชาการทหารสูงสุดได้มีคำสั่งให้เคลื่อนย้ายโรงเรียนเตรียมทหารมายังที่ตั้งแห่งใหม่ ณ เลขที่ 185 หมู่ 5 ตำบลศรีกะอาง อำเภอบ้านนา จังหวัดนครนายก กำหนดระยะเวลา ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2543 และให้สามารถเปิดการศึกษาได้ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2543 โดยมีพิธีเคลื่อนย้ายโรงเรียนเตรียมทหารเข้าสู่ที่ตั้งในวันพฤหัสบดีที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2543
 
ในปี พ.ศ. 2537 พลอากาศเอก[[วรนาถ อภิจารี]] [[ผู้บัญชาการทหารสูงสุด]]ในเวลาขณะนั้น ได้พิจารณาว่า สภาพแวดล้อมต่าง ๆ ของโรงเรียนเตรียมทหารได้เปลี่ยนแปลงไป พื้นที่โดยรอบกลายเป็นย่านชุมชนหนาแน่น ทั้งยังมีสภาพแวดล้อมเป็นมลพิษ อีกทั้งพื้นที่ของโรงเรียนเตรียมทหารมีข้อจำกัดต่อการเพิ่มขีดความสามารถในการผลิตนักเรียนเตรียมทหารและการพัฒนาโรงเรียนเตรียมทหารด้านต่างๆ ในอนาคต จึงได้ปรึกษากับ[[สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์]] ซึ่งเป็นเจ้าของพื้นที่ตั้งโรงเรียนเตรียมทหาร ถึงการย้ายที่ตั้งโรงเรียนเตรียมทหารไปยังสถานที่ตั้งแห่งใหม่ที่เหมาะสม ซึ่งได้รับการสนับสนุนการก่อสร้างจากสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ โดยได้มอบให้บริษัท คริสเตียนนีและนีลเส็น (ไทย) จำกัด (มหาชน) ซึ่งเป็นบริษัทในเครือของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ดำเนินการศึกษาความเป็นไปได้ต่างๆต่าง ๆ ของโครงการย้ายโรงเรียนเตรียมทหาร รวมทั้งเสนอแนะพื้นที่ตั้งโครงการ ในที่สุดได้เลือกพื้นที่[[ตำบลศรีกะอาง]] [[อำเภอบ้านนา]] [[จังหวัดนครนายก]] เป็นที่ตั้งโรงเรียนเตรียมทหารแห่งใหม่ ได้รับการสนับสนุนจาก[[กองทัพบก]]เจ้าของพื้นที่มอบพื้นที่ให้ดำเนินการประมาณ 2,460 ไร่ เป็นผลให้โครงการก่อสร้างโรงเรียนเตรียมทหารแห่งใหม่เกิดขึ้น
วันศุกร์ที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2543 พลเอกหญิงสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินทรงประกอบพิธีเปิดโรงเรียน
 
โครงการก่อสร้างโรงเรียนเตรียมทหารแห่งใหม่ได้เริ่มดำเนินการมาตั้งแต่เดือนสิงหาคม 2539 และได้รับพระมหากรุณาธิคุณจาก[[สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี]] เสด็จพระราชดำเนินทรงวางศิลาฤกษ์ เมื่อวันอังคารที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2541
โรงเรียนเตรียมทหารเป็นสถาบันการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สังกัดสถาบันวิชาการป้องกันประเทศ กองบัญชาการกองทัพไทย และเป็นสถาบันการศึกษาแห่งเดียวในประเทศไทย ที่เป็นศูนย์รวมเบื้องต้นสำหรับผู้ที่จะเข้าศึกษาต่อใน[[โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า]] [[โรงเรียนนายเรือ]] [[โรงเรียนนายเรืออากาศนวมินทกษัตริยาธิราช]] และ[[โรงเรียนนายร้อยตำรวจ]] ผู้ที่ศึกษาในโรงเรียนเตรียมทหารเรียกว่า นักเรียนเตรียมทหาร (นตท.)
 
โครงการก่อสร้างโรงเรียนเตรียมทหารแห่งใหม่ได้เริ่มดำเนินการต่อมาตั้งแต่เดือนสิงหาคม 2539 และได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพลเอกหญิง[[สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี]] เสด็จพระราชดำเนินทรงวางศิลาฤกษ์ เมื่อวันอังคารที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2541 ต่อมากองบัญชาการทหารสูงสุด]]ได้มีคำสั่งให้เคลื่อนย้ายโรงเรียนเตรียมทหารมายังที่ตั้งแห่งใหม่ ณ [[เลขที่ 185]] [[หมู่ 5]] [[ตำบลศรีกะอาง]] [[อำเภอบ้านนา]] [[จังหวัดนครนายก]] กำหนดระยะเวลา ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2543 และให้สามารถเปิดการศึกษาได้ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2543 โดยมีพิธีเคลื่อนย้ายโรงเรียนเตรียมทหารเข้าสู่ที่ตั้งในวันพฤหัสบดีที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2543
การรับสมัครบุคคลพลเรือนเข้าเป็นนักเรียนเตรียมทหารนั้น โรงเรียนเตรียมทหารมิได้เป็นผู้ดำเนินการสอบคัดเลือกนักเรียนเตรียมทหารด้วยตนเอง หากแต่โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า โรงเรียนนายเรือ โรงเรียนนายเรืออากาศนวมินทกษัตริยาธิราช และโรงเรียนนายร้อยตำรวจ จะเป็นผู้ดำเนินการสอบคัดเลือก โดยในแต่ละปีจะมีการกำหนดจำนวนรับนักเรียนเตรียมทหารในส่วนของกองทัพบก กองทัพเรือ กองทัพอากาศ และสำนักงานตำรวจแห่งชาติ จากนั้นแต่ละเหล่าทัพจะส่งผู้ผ่านการสอบคัดเลือกมาเรียนรวมกันที่โรงเรียนเตรียมทหาร เป็นเวลา 2 ปี
 
วันศุกร์ที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2543 พลเอกหญิง[[สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี]] เสด็จพระราชดำเนินทรงประกอบพิธีเปิดโรงเรียน<ref>https://www.youtube.com/watch?v=hO8Do-RAvGs ประวัติโรงเรียนเตรียมทหาร</ref>
ภายหลังจากที่สำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรของโรงเรียนเตรียมทหารแล้ว นักเรียนเตรียมทหารเหล่านี้จะเข้าศึกษาต่อในโรงเรียนเหล่าทัพ ตามที่นักเรียนได้สมัครและผ่านการสอบคัดเลือก
{{ต้องการอ้างอิง}}
เมื่อสำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนเหล่าทัพหรือโรงเรียนนายร้อยตำรวจแล้ว นักเรียนนายร้อยเหล่านี้จะได้รับการบรรจุเข้ารับราชการเป็นนายทหารและนายตำรวจชั้นสัญญาบัตร
==สัญลักษณ์ประจำโรงเรียน==
[[ไฟล์:บรรยากาศ ณ มณฑลพิธีท้องสนามหลวง ถนนราชดำเนิน 12สิงหาคม2552 (The Official Site o - Flickr - Abhisit Vejjajiva (37).jpg|300px|thumbnail|การแต่งกายของนักเรียนเตรียมทหาร]]
 
=== ตราประจำโรงเรียน ===
[[ไฟล์:ตราโรงเรียนเตรียมทหาร.jpg|300px|thumbnail|ตราสัญลักษณ์ประจำโรงเรียนเตรียมทหาร]]
'''เครื่องหมายจักรดาว''' เป็นสัญลักษณ์ของโรงเรียนเตรียมทหาร ประกอบด้วย
# คบเพลิง หมายถึง การศึกษาและความรุ่งโรจน์
เส้น 54 ⟶ 50:
# จักรเวียนซ้าย หมายถึง เครื่องหมายชั้นยศนายพลของกองทัพเรือ
# ดาวห้าแฉก หมายถึง เครื่องหมายชั้นยศนายพลของกองทัพอากาศ
 
===คติพจน์ประจำโรงเรียน===
 
===สีประจำโรงเรียน ===
เส้น 65 ⟶ 59:
 
สีเลือดหมู คือ เหล่าตำรวจ
 
===ดอกไม้ประจำโรงเรียน ===
 
== รายนามผู้บัญชากา[[น|ร]] ==
เส้น 122 ⟶ 114:
 
== รายนามนักเรียนเก่าที่มีชื่อเสียง ==
รายนามนักเรียนเก่าโรงเรียนเตรียมทหารที่มีชื่อเสียง เรียงลำดับตามรุ่นที่เข้ารับการศึกษา
* พลเอก [[สุรยุทธ์ จุลานนท์]] องคมนตรี อดีตนายกรัฐมนตรี ผู้บัญชาการทหารสูงสุด และอดีตผู้บัญชาการทหารบก (รุ่นที่ 1)
* พลเอก [[ประวิตร วงษ์สุวรรณ]] รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และ อดีตผู้บัญชาการทหารบก (รุ่นที่ 6)