ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทางรถไฟสายปากน้ำ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 93:
 
<blockquote>"...เรามีความยินดี ที่ได้รับน่าที่อันเปนที่พึงใจ คือจะได้เปนผู้เปิดรถไฟสายนี้ ซึ่งเปนที่ชอบใจแลปรารถนามาช้านานแล้วนั้นได้สำเร็จสมประสงค์ลงในครั้งนี้ เพราะเหตุว่า เปนรถไฟสายแรกที่จะได้เปิดในบ้านเมืองเรา แล้วยังจะมีสายอื่นต่อ ๆ ไปอีกเปนอันมากในเร็ว ๆ นี้ เราหวังใจว่าคงจะเปนการเจริญแก่ราชการ แลการค้าขายในบ้านเมืองเรายิ่งนัก..."</blockquote>
 
25 ธันวาคม พ.ศ. 2453 ในรัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ได้พระราชทานอำนาจพิเศษแก่บริษัทรถไฟสายปากน้ำทุนจำกัด<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume= 27 |issue= ก |pages= 58 |title= พระบรมราชโองการ ประกาศ พระราชทานอำนาจพิเศษแก่บริษัทรถไฟสายปากน้ำทุนจำกัด |url= http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2453/A/58_1.PDF |date= 25 ธันวาคม 2453 |language=ไทย}}</ref><ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume= 27 |issue= 0 ง |pages= 2766 |title=แจ้งความกระทรวงเกษตราธิการ เรื่อง บริษัทรถไฟสายปากน้ำทุนจำกัด ได้จดทะเบียนไว้ที่กระทรวงเกษตราธิการ ตามความในข้อ 5 แห่งประกาศพระราชทานอำนาจพิเศษแล้ว |url= http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2453/D/2766.PDF |date= 25 ธันวาคม 2453 |language=ไทย}}</ref>
 
หลังสิ้นสุดสัมปทาน การรถไฟแห่งประเทศไทยได้ซื้อเส้นทางรถไฟสายดังกล่าวมาดำเนินกิจการระยะหนึ่ง<ref name= "ไซเบอร์"/> และท้ายที่สุดได้มีการยกเลิกทางรถไฟสายนี้ เมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2503 ในรัฐบาล[[จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์]] มีคำสั่งให้รื้อทางรถไฟและถมคลองสร้างเป็น[[ถนนพระราม 4]] และ[[ถนนทางรถไฟสายเก่า]]<ref name= "เรื่องเก่า"/>
 
== การเดินรถ ==
เส้น 103 ⟶ 107:
 
ในปี พ.ศ. 2492-3 ทางรถไฟสายปากน้ำได้มีการใช้รถรางไฟฟ้าจากบริษัทนิปปอนชาเรียวของญี่ปุ่นแทนการใช้รถจักรไอน้ำด้วยมีประสิทธิภาพกว่าประกอบกับกำลังได้รับความนิยม<ref name= "ไซเบอร์"/> โดยได้เปิดการเดินรถพร้อมกับรถไฟฟ้าของโตเกียว<ref name="ปราการ">{{cite web |url=http://www.prakannews.com/pn/index.php?option=com_k2&view=item&id=69:%E0%B9%81%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B9%8C-%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%A3%E0%B8%96%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%9B%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3&tmpl=component&print=1|title=แท่นอนุสรณ์ และรถรางสายปากน้ำ|author= |date=22 มีนาคม 2557|work= |publisher=ปราการนิวส์ออนไลน์|accessdate=1 พฤษภาคม 2557}}</ref> ลุมาจนถึงช่วง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] รถรางสายปากน้ำได้รับความเสียหายเนื่องจากสายเคเบิลไฟฟ้าถูกตัดขาดที่บริเวณบางจาก แต่ก็ยังคงเปิดดำเนินการอยู่ตามปกติ โดยพนักงานรถรางจะต้องปีนขึ้นไปบนหลังคารถแล้วบังคับ[[แหนบรับไฟ]]ให้สามารถรับกระแสไฟฟ้าได้โดยตลอด ในขณะที่รถผ่านบริเวณจุดที่เกิดความเสียหายเพื่อให้รถรางสามารถวิ่งต่อได้จนถึงปลายทาง<ref name= "ไซเบอร์"/>
 
หลังสิ้นสุดสัมปทาน การรถไฟแห่งประเทศไทยได้ซื้อเส้นทางรถไฟสายดังกล่าวมาดำเนินกิจการระยะหนึ่ง<ref name= "ไซเบอร์"/> และท้ายที่สุดได้มีการยกเลิกทางรถไฟสายนี้ เมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2503 ในรัฐบาล[[จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์]] มีคำสั่งให้รื้อทางรถไฟและถมคลองสร้างเป็น[[ถนนพระราม 4]] และ[[ถนนทางรถไฟสายเก่า]]<ref name= "เรื่องเก่า"/>
 
== เหตุการณ์สำคัญ ==
เส้น 184 ⟶ 186:
 
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง|2}}
 
{{สถานีรถไฟในอดีต}}