ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทางรถไฟสายปากน้ำ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 22:
| open = 11 เมษายน พ.ศ. 2436
| close = 1 มกราคม พ.ศ. 2503
| owner = บริษัทรถไฟปากน้ำทุนจำกัด <small>(2429–2479)</small><ref name= "อำนาจ">{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume= 27 |issue= ก |pages= 75 |title= หนังสือกำหนดอำนาจ ของบริษัทรถไฟปากน้ำทุนจำกัด |url= http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2453/A/75_1.PDF |date= 25 ธันวาคม 2453 |language=ไทย}}</ref><br>[[การรถไฟแห่งประเทศไทย]] <small>(2479–2503)</small>
| operator =
| character =
บรรทัด 81:
|}
 
'''ทางรถไฟสายปากน้ำ''' เป็น[[ทางรถไฟ]]เอกชนที่เดินรถระหว่าง[[สถานีรถไฟหัวลำโพง (ทางรถไฟสายปากน้ำ)|สถานีรถไฟหัวลำโพง]] กรุงเทพมหานคร กับ[[สถานีรถไฟปากน้ำ]] [[จังหวัดสมุทรปราการ]]<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume= 10 |issue= 3 |pages= 17 |title= ข่าวพระราชดำเนินกลับจากเกาะสีชังแลการเปิดรถไฟปากน้ำ |url= http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2436/003/17_1.PDF |date= 16 เมษายน 2436 |language=ไทย}}</ref> เป็นระยะทาง 21.3 กิโลเมตร ตั้งแต่ พ.ศ. 2436 ถึง พ.ศ. 2503 เป็นทางรถไฟสายแรกของประเทศไทย<ref name= "กรุงเทพ">สุจิตต์ วงษ์เทศ. ''กรุงเทพฯ มาจากไหน''. กรุงเทพฯ : มติชน, 2548, หน้า 186</ref> ที่ก่อตั้งขึ้นก่อนการเดินรถของรถไฟหลวงสายกรุงเทพ-อยุธยาถึงสามปี<ref name= "เรื่องเก่า">โรม บุนนาค. ''ชุดบันทึกแผ่นดิน ตอน เรื่องเก่าเล่าสนุก ๒''. กรุงเทพฯ:สยามบันทึก. 2552, หน้า 103-105</ref>
 
แต่เดิมทางรถไฟสายดังกล่าวเป็นสัมปทานของเอกชนบริษัทรถไฟปากน้ำทุนจำกัด<ref name= "อำนาจ"/> โดยมี[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เสด็จพระราชดำเนินไปทรงทำพิธีเริ่มการก่อสร้าง และได้เสด็จไปในพิธีเปิดด้วย แต่ทางรถไฟสายปากน้ำเดิมมีทั้งหมด 10 สถานี ต่อมาจึงเพิ่มเติมเป็น 12 สถานี
 
หลังสิ้นสุดสัมปทานในเวลา 50 ปี เส้นทางรถไฟดังกล่าวตกอยู่ในการบริหารกิจการของกรมรถไฟต่อ ครั้นในรัฐบาลจอมพล [[สฤษดิ์ ธนะรัชต์]] ได้ยกเลิกเส้นทางรถไฟสายปากน้ำเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2503 และได้ขยายเป็น[[ถนนพระราม 4]] และ[[ถนนทางรถไฟสายเก่า]]
 
== ประวัติ ==
ทางรถไฟสายปากน้ำดำเนินการโดย '''กอมปานีรถไฟ''' หรือ '''บริษัทรถไฟปากน้ำทุนจำกัด'''<ref name= "อำนาจ"/> บริหารงานโดย[[พระยาชลยุทธโยธินทร์ (อองเดร ดู เปลซี เดอ ริเชอลิเออ)]] ชาวเดนมาร์ก<ref name= "กรุงเทพ"/> และพระนิเทศชลธี (แอลเฟรด ยอนลอบเตอด เยฟอานีเอช) ได้รับสัมปทานตั้งแต่วันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2429 เป็นเวลา 50 ปี สิ้นสุด พ.ศ. 2479 เริ่มดำเนินการก่อสร้างตั้งแต่ พ.ศ. 2434 <ref>[http://web.archive.org/20060919012701/www.geocities.com/railsthai/paknam.htm รถไฟสายปากน้ำ]</ref> มีวิศวกรเดินรถชื่อ ที.เอ. ก็อตเช่ (Captain T.A. Gottsche) ชาวเดนมาร์ก ต่อมาได้รับราชทินนามเป็น ขุนบริพัตรโภคกิจ ต้นสกุล คเชศะนันทน์ ครั้งนั้น[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ได้เสด็จพระราชดำเนินไปทรงทำพิธีเริ่มการก่อสร้างเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2434<ref name= "เรื่องเก่า"/>
 
เมื่อทางรถไฟสายปากน้ำแล้วเสร็จเปิดเดินขบวนรถครั้งแรกเมื่อวันที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2436<ref name= "กรุงเทพ"/> (ร.ศ. 112) [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เสด็จพระราชดำเนินทรงประกอบพิธีเปิดบริการ และเสด็จขึ้นประทับโดยสารขบวนรถไฟพระที่นั่ง พร้อมด้วยพระบรมวงศานุวงศ์<ref>[http://www.oknation.net/blog/print.php?id=265692 ตามรอย หัวจักรรถไฟสายปากน้ำ ทางรถไฟสายแรกของประเทศไทย]</ref> ในพิธีเปิดการเดินรถครั้งนั้นพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำรัส ปรากฏความตอนหนึ่งว่า<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume= 10 |issue= 3 |pages= 19 |title= พระบรมราชโองการ พระราชดำรัสตอบในการเปิดรถไฟปากน้ำ |url= http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2436/003/19.PDF |date= 16 เมษายน 2436 |language=ไทย}}</ref>