ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฟริทซ์ ฮาเบอร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
Potapt ย้ายหน้า ฟริตซ์ ฮาเบอร์ ไปยัง ฟริทซ์ ฮาเบอร์: ตามหลักเกณฑ์การทับศัพท์เยอรมัน 2561
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
| image = Fritz Haber.png
| image_size = 180px
| birth_date = {{Birth date|df=yes|1868|12|099}}
| birth_place = [[เบร็สเลา]] [[ปรัสเซีย]]<ref>{{cite web|url=https://www.nobelprize.org/nobel_prizes/chemistry/laureates/1918/haber-bio.html |title=Fritz Haber - Biographical
|publisher=Nobelprize.org}}</ref>
บรรทัด 18:
}}
 
'''ฟริทซ์ ฮาเบอร์''' ({{lang-de|Fritz Haber}}; 9 ตุลาคม ค.ศ. 1868 – 29 มกราคม ค.ศ. 1934) เป็นนักเคมีชาวเยอรมัน ผู้ซึ่งได้รับ[[รางวัลโนเบลสาขาเคมี]]ในปี ค.ศ. 1918 เนื่องจากการพัฒนา[[กระบวนการฮาเบอร์|การสังเคราะห์แอมโมเนีย]] ซึ่งเป็นวัตถุดิบที่สำคัญในปุ๋ยและระเบิด ฮาเบอร์และ[[มัคส์ บอร์น]] ได้เสนอ[[วัฏจักรบอร์น-ฮาเบอร์]] เป็นวิธีการหาค่าพลังงานแลตทิซของของแข็งไอโอนิก นอกจากนี้ เขายังได้ถูกเรียกว่าเป็น "บิดาแห่งสงครามเคมี"<ref name="gg">Between Genius and Genocide: The Tragedy of Fritz Haber, Father of Chemical Warfare by Daniel Charles</ref> เนื่องจากผลงานในการพัฒนาและใช้แก๊ส[[คลอรีน]]และแก๊สพิษอื่น ๆ ระหว่าง[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]]
 
ฮาเบอร์ได้รับการวิพากษ์วิจารณ์อย่างมากเกี่ยวกับการมีส่วนเกี่ยวข้องในการพัฒนาอาวุธเคมีในเยอรมนีก่อน[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] ทั้งนักวิทยาศาสตร์ร่วมสมัยและนักวิทยาศาสตร์สมัยใหม่<ref name="gg"/> ผลการวิจัยแสดงให้เห็นถึงความกำกวมในกิจกรรมด้านวิทยาศาสตร์ของเขาเป็นอย่างมาก กล่าวคือ ในแง่หนึ่ง ถึงแม้ว่าการสังเคราะห์แอมโมเนียเพื่อผลิตระเบิดหรือกระบวนการทางเทคนิคสำหรับการผลิตและใช้แก๊สพิษในสงครามได้เป็นไปได้ในพื้นฐานทางอุตสาหกรรม ในอีกแง่หนึ่ง หากไม่มีความรู้นี้ ความสามารถที่จะผลิตอาหารให้เพียงพอต่อความต้องการของประชากรโลกก็คงจะไม่เกิดขึ้น การผลิตปุ๋ยไนโตรเจนสังเคราะห์ทุกปีมีมากกว่า 100 ล้านตัน พื้นฐานอาหารของประชากรครึ่งโลกในปัจจุบันขึ้นกับ[[กระบวนการฮาเบอร์-บ็อช]]<ref>Jörg Albrecht: ''Brot und Kriege aus der Luft.'' In: ''Frankfurter Allgemeine Sonntagszeitung.'' 41, 2008, S. 77 (Data from "Nature Geosience").</ref>