ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การถ่ายเทความร้อน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:heat-transmittance-means1.jpg|thumb|400px|right|<ref>http://www.roasterproject.com/2010/01/heat-transfer-the-basics/</ref>การถ่ายเทความร้อนจะมี3รูปแบบดังที่เห็นในรูปซึ่งทั้ง3แบบจะมีความสัมพันธ์กัน]]
'''การถ่ายเทความร้อน''' ({{lang-en|heat transfer}}) คือการถ่ายเทของ[[พลังงานความร้อน]]
== ประโยชน์ ==
 
การถ่ายเทความร้อน มีความสำคัญในชีวิตประจำวันและอุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร ไม่ว่าจะเป็น การใช้ความร้อนในการหุงต้มอาหาร กระบวนการแปรรูปที่เกี่ยวข้องกับความร้อนและความเย็นในโรงงานแปรรูปอาหาร เช่น กระบวนการแช่เย็น การแช่แข็ง การฆ่าเชื้อโดยใช้ความร้อนการอบแห้ง และการระเหย กระบวนการเหล่านี้เกี่ยวข้องกับการถ่ายโอนความร้อนระหว่างผลิตภัณฑ์และตัวกลางให้ความร้อน หรือความเย็นการถ่ายโอนความร้อนเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เกิดขึ้นเมื่ออุณหภูมิระหว่างตำแหน่งสองตำแหน่งในมีค่าแตกต่างกันโดยความร้อนจะถ่ายเทจากที่ที่มีอุณหภูมิสูงไปที่มีอุณหภูมิต่ำเสมอ ในตัวกลางหรือระหว่างตัวกลางการถ่ายโอนความร้อน<ref>เทอร์โม-ความร้อนประยุกต์,รศ.มนตรี พิรุณเกษตร,กรุงเทพ-ซีเอ็ดเคยูชั่น,2539</ref>
 
== ชนิด ==
การถ่ายเทความร้อน สามารถจำแนก ได้ออกเป็น 3 แบบ ดังนี้
=== 1.การนำความร้อน ===
[[การนำความร้อน]] ({{lang-en|heat conduction}}) คือ ปรากฏการณ์ที่[[พลังงานความร้อน]]ถ่ายเทภายในวัตถุหนึ่ง ๆ หรือระหว่างวัตถุสองชิ้นที่สัมผัสกัน โดยมีทิศทางของการเคลื่อนที่ของ[[พลังงานความร้อน]]จากบริเวณที่มี[[อุณหภูมิ]]สูงไปยังบริเวณที่มีอุณหภูมิต่ำกว่า โดยที่ตัวกลางไม่มีการเคลื่อนที่
[[การนำความร้อนเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นบนชั้น]][[อะตอม]]ของ[[อนุภาค]] เป็นหนึ่งในกระบวนการถ่ายเทความร้อน ใน[[โลหะ]] การนำความร้อนเป็นผลมาจากการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนอิสระ(คล้ายกคล้าย[[âการนำไฟฟ้า]])ใน[[ของเหลว]]และ[[ของแข็ง]]ที่มีสภาพการนำความร้อนต่ำเป็นผลมาจากการสั่นของ[[โมเลกุล]]ข้างเคียง ใน[[ก๊าซ]] การนำความร้อนเกิดขึ้นผ่านการสั่นสะเทือนระหว่าง[[โมเลกุล]]หรือกล่าวคือการนำความร้อนเป็นลักษณะการถ่ายเทความร้อนผ่าน โดยตรงจากวัตถุหนึ่งไปยังอีกวัตถุหนึ่งโดยการสัมผัสกัน เช่น การเอามือไปจับกาน้ำร้อน จะทำให้ความร้อนจากกาน้ำถ่ายเทไปยังมือ จึงทำให้รู้สึกร้อน เป็นต้น วัสดุใดจะนำความร้อนดีหรือไม่ดี ขึ้นอยู่กับสัมประสิทธิ์การนำความร้อน(k)
 
=== 2.การพาความร้อน===
ารนำไฟฟ้าใน[[ของเหลว]]และ[[ของแข็ง]]ที่มีสภาพการนำความร้อนต่ำเป็นผลมาจากการสั่นของ[[โมเลกุล]]ข้างเคียง ใน[[ก๊าซ]] การนำความร้อนเกิดขึ้นผ่านการสั่นสะเทือนระหว่าง[[โมเลกุล]]หรือกล่าวคือการนำความร้อนเป็นลักษณะการถ่ายเทความร้อนผ่าน โดยตรงจากวัตถุหนึ่งไปยังอีกวัตถุหนึ่งโดยการสัมผัสกัน เช่น การเอามือไปจับกาน้ำร้อน จะทำให้ความร้อนจากกาน้ำถ่ายเทไปยังมือ จึงทำให้รู้สึกร้อน เป็นต้น วัสดุใดจะนำความร้อนดีหรือไม่ดี ขึ้นอยู่กับสัมประสิทธิ์การนำความร้อน(k)]]
 
=== 2.การพาความร้อน===
[[การพาความร้อน]] ({{lang-en|heat convection}}) เป็นการถ่ายเทความร้อนที่เกิดขึ้นได้ ในสสารสองสถานะคือ [[ของเหลว]]และ[[ก๊าซ]] เนื่องจากเป็นสิ่งที่สามารถเคลื่อนที่ได้โดยจะมีทิศทางลอยขึ้นเท่านั้น เนื่องจาก เมื่อ[[สสาร]]ได้รับความร้อนจะมีการขยายตัว ทำให้ความหนาแน่นต่ำลง และสสารที่มีอุณหภูมิ ต่ำกว่า (ความหนาแน่นสูงกว่า) ก็จะลงมาแทนที่ ปรากฏการณนี้มีตัวอย่างคือ การเกิดลมบก ลมทะเล เป็นต้น การนำความร้อน<ref>http://mte.kmutt.ac.th/elearning/Internal%20Combustion%20Engine%20Part%20II/page_12_2.htm</ref>เป็นการถ่ายเทความร้อนโดยการเคลื่อนที่ของโมเลกุลผ่านของแข็งหรือผ่านของไหลที่อยู่กับที่ อันเป็นผลมาจากอุณหภูมิที่แตกต่างกัน การนำความร้อนต่อหน่วยพื้นที่ ต่อหน่วยเวลา
 
บรรทัด 31:
[[ไฟล์:การแผ่รังสีความร้อนของดวงอาทิตย์.jpg|thumb|right|ภาพนี้แสดงให้เห็นถึงการแผ่รังสีความร้อนของดวงอาทิตย์มายังโลก<ref>http://wiki.stjohn.ac.th/groups/poly_science6/wiki/4164f/_8_.html</ref>]]
 
การแผ่รังสีความร้อน (Radiation) เป็นการถ่ายเทความร้อนออกรอบตัวทุกทิศทุกทาง โดยมิต้องอาศัยตัวกลางในการส่งถ่ายพลังงาน ดังเช่น การนำความร้อน และการพาความร้อน การแผ่รังสีสามารถถ่ายเทความร้อนผ่านอากาศอวกาศได้ วัตถุทุกชนิดที่มีอุณหภูมิสูงกว่า -270 ํC หรือ 0 K ([[เคลวิน]]) ย่อมมีการแผ่รังสี วัตถุที่มีอุณหภูมิสูงแผ่รังสีคลื่นสั้น วัตถุที่มีอุณหภูมิต่ำแผ่รังสีคลื่นยาว เช่น การตากปลาแห้ง ตากเสื่อผ้ากลางแจ้ง
ทั้งนี้การแผ่รังสี คือการถ่ายโอนความร้อนโดยไม่ต้องผ่านตัวกลางใดๆ เช่น ความร้อนที่เกิดจากดวงอาทิตย์ถือเป็นความร้อนที่เกิดจากการถ่ายโอนความร้อนโดยการแผ่รังสี โดยที่วัตถุแต่ละชนิดสามารถดูดกลืนความร้อนจากการแผ่รังสีได้ไม่เท่ากัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ