ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดอเจแห่งเวนิส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ชาวไทย (คุย | ส่วนร่วม)
ลบป้าย ค.ศ. นิยามของมกุฎสาธารณรัฐ (Crowned republic) คือรัฐที่ปกครองด้วยระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ แต่พระมหากษัตริย์ไม่ทรงมีอำนาจอันใด หรือรัฐปกครองด้วยระบอบราชาธิปไตย แต่ประชาชนถือสิทธิ์ปกครองด้วยความเป็นพลเมือง ในกรณีนี้ เวนิสไม่เข้าข่าย เพราะถึงแม้ว่า โดเจ (ดยุค) แห่งเวนิสจะดำรงตำแหน่งตลอดชีพ และมีกระบวนการแต่งตั้ง คล้ายกับระบอบราชาธิปไตยโดยเลือกตั้ง แต่เวนิสก็ไม่เคยมี พระมหากษัตริย์ หรือ ผู้ปกครองที่ส่งผ่านอำนาจผ่านทางสายเลือดเลย.
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
{{ความหมายอื่น|เกี่ยวกับ= |สำหรับ= |ดูที่=สาธารณรัฐเวนิส |เปลี่ยนทาง=}}
{{ใช้ปีคศ|width=240px}}
[[ไฟล์:Giovanni_Bellini,_portrait_of_Doge_Leonardo_Loredan.jpg|thumb|240px|ภายเหมือนของดยุก[[เลโอนาร์โด โลเรดัน]]แต่งกายตามธรรมเนียม “corno ducale” ([[จิโอวานนี เบลลินี]] หลัง ค.ศ. 1501, [[หอศิลป์แห่งชาติ, ลอนดอน]])]]
'''ดยุกแห่งเวนิส''' หรือ '''โดเจแห่งเวนิส''' ({{lang-en|'''Doge of Venice'''}}) มาจาก “Doge” (ภาษาเวนิส) หรือ “Doxe” ที่มาจากภาษาละติน “Dux” ที่หมายถึงผู้นำทางทหาร ภาษาอิตาลีใช้ “Duce” ดยุกแห่งเวนิสเป็นตำแหน่งประมุขของ[[สาธารณรัฐเวนิส]]<ref>CATHOLIC ENCYCLOPEDIA: Venice[http://www.newadvent.org/cathen/15333a.htm]</ref>ที่ใช้กันมากว่าหนึ่งพันปี เป็นตำแหน่งเลือกตั้งตลอดชีพโดยชนชั้นเจ้านายในนครรัฐ ผู้ที่ได้รับเลือกมักจะเป็นผู้มีอาวุโสสูงที่สุดและเป็นผู้มีปฏิภาณไหวพริบดีที่สุด ความสามารถในการรักษาดุลยภาพระหว่างการมีพิธีรีตองอย่างเจ้านายและความเป็นสารธารณรัฐที่ทำให้เวนิสเป็นตัวอย่างที่ดีของ[[มกุฎ "สาธารณรัฐ|มกุฏสาธารณรัฐ]]พาณิชย์ (crownedMaritime republicrepublics) หรือสาธารณรัฐที่เหล่าพ่อค้าและชนชั้นสูงมีเจ้านายเป็นผู้ครองอิทธิพลอย่างชัดเจน
 
== ที่มา ==