ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเทพกษัตรีย์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
{{ขาดอ้างอิง}}
{{กล่องข้อมูล เชื้อพระวงศ์
| สี = gold
| ภาพ =
| พระบรมนามาภิไธยนาม =
| วันประสูติ =
| พระปรมาภิไธย =
| วันสิ้นพระชนม์ =
| วันพระราชสมภพ =
| พระอิสริยยศ = บาทบริจาริกาใน[[สมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช]]<ref name="ล้านช้าง">"พงศาวดารล้านช้าง". ใน ''ประชุมพงศาวดารเล่ม ๔๔.44''. (พระนคร : ครุสภา, 2512), หน้า 161-164</ref>
| วันสวรรคต =
| พระอิสริยยศ = บาทบริจาริกาใน[[สมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช]]<ref>พงศาวดารล้านช้าง. ใน ''ประชุมพงศาวดารเล่ม ๔๔.'' (พระนคร:ครุสภา, 2512) หน้า 161-164</ref>
| พระราชบิดา = [[สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ]]
| พระราชมารดา = [[สมเด็จพระศรีสุริโยทัย]]
| พระราชสวามี = [[สมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช]]
| พระมเหสี =
| พระราชโอรส/ธิดา = โอรส 1,ธิดา 1
| พระราชสวามี = เจ้าพระยาสิงหบดี (เป็นคนไทย มีเชื้อพระวงศ์ (ไม่แน่ช้ด) อาจจะเป็นสุวรรณภูมิ
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์สุพรรณภูมิ|สุพรรณภูมิ]] <small>(ประสูติ)</small><br>ล้านช้าง <small>(เสกสมรส)</small>
| พระราชโอรส/ธิดา = โอรส 1,ธิดา 1
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์สุพรรณภูมิ]]
| ทรงราชย์ =
| พิธีบรมราชาภิเษก =
| ระยะเวลาครองราชย์ =
| รัชกาลก่อนหน้า =
| รัชกาลถัดมา =
}}
 
'''สมเด็จพระเจ้าลูกเธอพระเทพกษัตรีย์'''<ref name="เจิม">''พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น'', หน้า 102-104</ref> หรือ '''สมเด็จพระเจ้าลูกเธอพระเทพกษัตรเจ้า'''<ref name="ประเสริฐ">ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์. ''พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น'', หน้า 411</ref> เป็นพระราชธิดาพระองค์เล็กใน[[สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ]]กับ[[พระสุริโยทัย]]แห่ง[[อาณาจักรอยุธยา]] ต่อมาเข้าเป็นบาทบริจาริกาใน[[สมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช]]<ref name="ล้านช้าง"/> พระมหากษัตริย์แห่ง[[อาณาจักรล้านช้าง]]
'''พระเทพกษัตรี''' เป็นพระราชธิดาพระองค์เล็กใน[[สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ]]กับ[[สมเด็จพระศรีสุริโยทัย]] ภายหลังทรงถูกนำตัวไปอยู่ที่[[หงสาวดี]]
 
== พระประวัติ ==
=== สู่ราชสำนักล้านช้าง ===
[[พ.ศ. 2106]] [[สมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช]] กษัตริย์แห่ง[[ล้านช้าง]]หวังการเมืองเบื้องหน้าในการแผ่ขยายอาณาจักรและเพื่อป้องกันตนเองจาก[[อาณาจักรตองอู]]ของ[[พม่า]] จึงส่งพระราชสาสน์มาถึง[[สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ]]ทูลขอพระเทพกษัตรีเป็นพระมเหสีเพื่อเป็นการเชื่อมไมตรีกับ[[กรุงศรีอยุธยา]]
''[[พระราชพงศาวดาร ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)]]'' และ ''[[พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์]]'' ระบุเนื้อความใกล้เคียงกัน ในปี พ.ศ. 2093 (ฉบับพันจันทนุมาศ) หรือ พ.ศ. 2107 (ฉบับหลวงประเสริฐ) [[สมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช]]ทรงมีพระราชสาสน์แสดงพระราชประสงค์ขอพระเทพกษัตรีย์ พระราชธิดาที่ประสูติแต่[[พระสุริโยทัย]]ไปเป็นพระมเหสี [[สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ]]ก็ทรงตอบรับไปอย่างดี แต่ทว่าเมื่อถึงเวลาที่คณะทูตจากล้านช้างเดินมารับตัว พระเทพกษัตรีย์ก็ทรงประชวรหนัก สมเด็จพระมหาจักรพรรดิก็มิทราบว่าจะแก้ปัญหาอย่างไรจึงส่ง[[พระแก้วฟ้า|สมเด็จพระเจ้าลูกเธอพระแก้วฟ้า]] พระราชธิดาซึ่งเกิดกับพระสนมไปแทนพระเทพกษัตรีย์ แต่เมื่อสมเด็จพระไชยเชษฐาธิราชทรงทราบว่าขัตติยนารีที่ถูกส่งมามิใช่พระเทพกษัตรีย์ ก็ทรงเสียพระทัยจึงส่งพระแก้วฟ้ากลับคืนมา ครั้นเมื่อพระเทพกษัตรีย์ทรงหายจากอาการพระประชวร สมเด็จพระมหาจักรพรรดิจึงส่งพระราชธิดาไปกับเถ้าแก่และทาสชายหญิงอย่างละ 500 คนในปี พ.ศ. 2095 แต่ถูกทหารพม่าซึ่งดักซุ่มที่ตำบลมะเริง เมืองเพชรบูรณ์ ออกสกัดและจับตัวพระเทพกษัตรีย์ไป<ref name="เจิม"/><ref name="ประเสริฐ"/> ขณะที่เอกสารของลาวระบุว่าสมเด็จพระไชยเชษฐาธิราชทรงรับพระเทพกษัตรีย์ไป[[หนองหาน]] มิได้ถูกพม่าชิงตัวไป<ref>{{cite web |url= https://minimore.com/b/PeDxn/4 |title= เล่าให้อ่าน โยเดียกับราชวงศ์พม่า เรื่องจริงที่ไม่มีใครรู้ |author=|date= 6 มิถุนายน 2560 |work= Minimore Makers |publisher=|accessdate= 19 มิถุนายน 2561}}</ref>
 
=== สงครามช้างเผือก ===
สมเด็จพระมหาจักรพรรดิเห็นแล้วว่าควรส่งพระเทพกษัตรีไป เพื่อหวังการสร้างฐานอำนาจให้มั่งคงแทนฐานเก่าอย่าง[[พระมหาธรรมราชา]]แห่ง[[พิษณุโลก|เมืองพิษณุโลก]]ซึ่งอาจแปรพักตร์ไปเข้าข้างพม่า แต่ตอนนั้นพระเทพกษัตรีทรงพระประชวร พระองค์จึงส่งพระแก้วฟ้าพระธิดาที่เกิดจากสนมรัตนมณีเนตรไปถวายแทน เมื่อพระไชยเชษฐาทรงทราบว่าไม่ใช่พระเทพกษัตรีจึงถวายพระแก้วฟ้าคืน
''[[มหาราชวงศ์ ฉบับหอแก้ว]]'' ระบุว่า ในช่วงที่[[พระเมกุฏิสุทธิวงศ์]]แห่ง[[อาณาจักรล้านนา]]ทรงแข็งเมือง [[พระเจ้าบุเรงนอง]]โปรดให้อะวะสะโตมางจอ พระชามาดา, พระมหาอุปราช พระราชโอรส และมางแรจอถิง พระราชาภาคินัย แยกทัพออกเป็นสามทางไปตีเมืองเวียงจันทน์ สมเด็จพระไชยเชษฐาธิราชทรงหนีรอดไปได้ แต่ฝ่ายพม่าได้ควบคุมตัวพระมเหสีสามพระองค์คือ พระนางสี (มเหสีใหญ่), พระนางมนุรามาหสี (คาดว่าคือพระเทพกษัตรีย์) พระราชธิดาพระเจ้าอยุธยา, พระนางศิริมา พระราชธิดาพระเจ้าเชียงตุง ตลอดจนบรรดาสนม อำมาตย์ สิ่งของเงินทอง และพลเมืองเป็นอันมาก<ref name="ลาว">''ลำดับกษัตริย์ลาว'', หน้า 100-101</ref> ส่วน ''พระราชพงศาวดารพม่า'' พระนิพนธ์ของ[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์]] ระบุว่า พม่าจับพระมเหสีของกษัตริย์ล้านช้างได้สามพระองค์ คือ พระมหานารี, พระมโนรา (พระราชธิดากรุงสยาม) และฟ้าสิริมา (บุตรีเจ้าฟ้าเชียงตุง) และทรงอธิบายว่าพระมโนรานั้นน่าจะเป็นพระแก้วฟ้ามากกว่าพระเทพกษัตรีย์ เพราะล้านช้างยังมิได้ส่งพระแก้วฟ้าคืนตามที่พงศาวดารไทยกล่าวไว้<ref>''พระราชพงศาวดารพม่า'', หน้า 161</ref>
 
''พงศาวดารเมืองหลวงพระบางฉบับศาลาลูกขุน'' ระบุว่า ในปี พ.ศ. 2112 สมเด็จพระไชยเชษฐาธิราชทรงยกทัพไปช่วยกรุงศรีอยุธยาจากการโจมตีของพม่า แต่ถูกทัพของพระมหาอุปราช สะโตมางจอ พระชามาดาพระเจ้าหงสาวดี และตองอูบุริงมางของเจ้าเมืองตองอูล้อมตีจนแตกทัพ แต่ก็หนีกลับล้านช้างได้ หลังพระเจ้าหงสาวทรงยึดกรุงศรีอยุธยาได้แล้ว จึงยกทัพไปตีเวียงจันทน์ พม่าใช้เวลาเจ็ดเดือนเพื่อตามหาสมเด็จพระไชยเชษฐาธิราชแต่ทว่าไม่พบ พระเจ้าหงสาวดีจึงยกทัพกลับ<ref name="ลาว"/>
สมเด็จพระมหาจักรพรรดิจึงจัดส่งพระเทพกษัตรีไป[[ล้านช้าง]]ใน [[พ.ศ. 2107]] ทรงให้พระยาแมนคุมไพร่ 1,000 คน ตามเสด็จทางสถลมารค (ทางบก) ไปทางสมอสอ{{ต้องการอ้างอิงตรงนี้}}
 
=== การถูกชิงตัว ===
ทางฝ่ายพระมหาธรรมราชาทรงทราบความก็ให้ส่งสาสน์ไปยัง[[พระเจ้าบุเรงนอง]] กษัตริย์พม่าให้เร่งมาแย่งชิงเอาพระเทพกษัตรีไป โดยไม่ทราบเหตุผลแน่ชัด พระเจ้าบุเรงนองทรงให้ '''พระตะบะ'''เป็นนายกอง '''ฟ้าเสือต้าน มังกลอกหม้อ''' คุมทหาร 10,000 นาย ไปดักอยู่ที่อยู่ที่ตำบลมะเริง นอกด่าน[[เพชรบูรณ์|เมืองเพชรบูรณ์]] ชิงพระเทพกษัตรีไปหงสาวดีได้สำเร็จ ทำให้กรุงศรีอยุธยากับหัวเมืองเหนือบาดหมางกันยิ่งขึ้น
 
== อ้างอิง ==
; เชิงอรรถ
{{รายการอ้างอิง|2}}
* พระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงนิพนธ์อธิบายประกอบ สำนักงานพิมพ์โอเดียนสโตร์ จัดพิมพ์จำหน่าย พ.ศ. ๒๕๑๐
; บรรณานุกรม
* ไทยรบพม่า เล่ม ๑ สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ สำนักงานพิมพ์อักษรเจริญทัศน์ จัดพิมพ์จำหน่าย พ.ศ. ๒๕๔๖
* {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์|นราธิปประพันธ์พงศ์, พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระ]]| ชื่อหนังสือ = พระราชพงศาวดารพม่า| จังหวัด = พิมพ์ครั้งที่ 2. นนทบุรี| พิมพ์ที่ = ศรีปัญญา| ปี = 2550| ISBN = 978-974-7088-10-6| จำนวนหน้า = 1136}}
* พระราชพงศาวดารกรุงเก่าฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ สำนักงานพิมพ์คลังวิทยา จัดพิมพ์จำหน่าย พ.ศ. ๒๕๑๐
* {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = สุรศักดิ์ ศรีสำอาง| ชื่อหนังสือ = ลำดับกษัตริย์ลาว | จังหวัด = พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ |พิมพ์ที่ = สำนักโบราณคดีและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กรมศิลปากร| ปี = 2545| ISBN = 974-418-118-4| จำนวนหน้า = 368}}
 
* {{อ้างหนังสือ | ผู้แต่ง =| ชื่อหนังสือ = ประชุมคำให้การกรุงศรีอยุธยา รวม 3 เรื่อง | URL =| พิมพ์ที่ = แสงดาว | จังหวัด = กรุงเทพฯ | ปี = 2553 | ISBN = 978-616-508-073-6| จำนวนหน้า =536}}
== ดูเพิ่ม ==
* {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = | ชื่อหนังสือ = พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น| จังหวัด = นนทบุรี| พิมพ์ที่ = ศรีปัญญา| ปี = 2553| ISBN = 978-616-7146-08-9| จำนวนหน้า = 800}}
* [[สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ]]
* [[สมเด็จพระศรีสุริโยทัย]]
 
[[หมวดหมู่:บุคคลในประวัติศาสตร์กรุงศรีอยุธยา]]