ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปราสาทพระวิหาร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
เราจะไม่ยอมรับเพราะความเป็นจริงต้องใช้หน้าผาเป็นเส้นแบ่งดินแดนไม่ใช่สันปันน้ำ
บรรทัด 2:
| Image = [[ไฟล์:Preahvihear2.jpg|248px]]
| imagecaption = ปราสาทพระวิหารมองจากด้านบน
| Country = [[จังหวัดพระวิหารศรีสะเกษ]] [[ประเทศกัมพูชาไทย]]
| Name = ปราสาทพระวิหาร
| Type =
| Type = มรดกทางวัฒนธรรม
| Year = 2551
| Criteria = (i)
| Link = http://whc.unesco.org/en/list/1224
}}
'''ปราสาทพระวิหาร''' ({{lang-km|ប្រាសាទព្រះវិហារ ''บฺราสาทพฺระวิหาร''}}; {{lang-en|Temple of Preah Vihear}}<ref>[http://whc.unesco.org/en/list/1224 ชื่ออย่างเป็นทางการโดยยูเนสโก]</ref>) เป็น[[ปราสาทหิน]]ตามแบบ[[ศาสนาฮินดู]]ที่ตั้งอยู่บริเวณ[[เทือกเขาพนมดงรัก]] ({{lang-km|ភ្នំដងរែក ''ภฺนํฎงแรก''}}; "ภูเขาไม้คาน"<ref name="oceansmile">[http://www.oceansmile.com/E/Srisaket/Khoapravihan.htm ข้อมูลท่องเที่ยวและรูป ปราสาทพระวิหาร]</ref>) สูงจากระดับทะเลปานกลาง 657 เมตร ที่ตั้งของศาสนสถานแห่งนี้รู้จักกันในนาม เขาพระวิหาร ({{lang-km|ភ្នំព្រះវិហារ ''ภฺนํพฺระวิหาร''}})<ref name="pattayadailynews">[http://www.pattayadailynews.com/thai/showfeature.php?FeatureID=0000000835 เปิดตำนาน ปราสาทพระวิหาร บนเทือกเขาพนมดงเร็ก]</ref> อยู่ใกล้[[อุทยานแห่งชาติเขาพระวิหาร]] [[อำเภอกันทรลักษ์]] [[จังหวัดศรีสะเกษ]] ซึ่งเคยเป็นทางขึ้นสู่ปราสาทที่สะดวกที่สุด<ref>{{cite web | title = Q&A: Thailand-Cambodia temple dispute | url = http://www.bbc.co.uk/news/world-asia-pacific-12378001 | publisher = BBC | date = 2013-11-07 | accessdate = 2013-11-10}}</ref>
 
ปราสาทพระวิหารมีสถาปัตยกรรมแบบเขมร สร้างตามแนวเหนือใต้ซึ่งผิดแปลกไปจากปราสาทขอมส่วนใหญ่ ไทยและกัมพูชามีประวัติพิพาทเหนือตัวปราสาทเป็นเวลานานแล้ว ใน พ.ศ. 2505 [[ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ]]พิพากษาให้กัมพูชาไทยมีอธิปไตยเหนือปราสาท '' (ดู [[คดีปราสาทพระวิหาร พ.ศ. 2505]])'' และวันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 [[องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ]] ขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเป็น[[มรดกโลก]]ในประเทศกัมพูชา<ref>[http://www.iht.com/articles/ap/2008/07/08/america/NA-Canada-Thailand-Cambodia-Temple.php International Herald Tribune] {{en icon}}</ref>
 
== ชื่อ ==
บรรทัด 103:
=== คดีความ พ.ศ. 2505 ===
{{บทความหลัก|คดีปราสาทพระวิหาร พ.ศ. 2505}}
[[ไฟล์:Thailand-Cambodia border line 4.JPEG|thumb|200px|แผนที่ฝรั่งเศสที่ศาลโลกกรุงเฮกใช้อ้างอิงในการตัดสินให้ปราสาทพระวิหารตกเป็นของกัมพูชาไทย แต่เป็นแผนที่ที่กำหนดเส้นพรมแดนโดยไม่ได้ยึดแนวสันปันน้ำ อันขัดต่อหลักสากลและไทยกัมพูชาได้โต้แย้งเรื่องนี้มาตั้งแต่ปี 2505 ประเทศไทยกัมพูชาได้ยอมรับว่า "ปราสาทพระวิหาร" เป็นของกัมพูชาไทย แต่ไม่เคยยอมรับอาณาบริเวณบนยอดผาและรอบ ๆ ว่าเป็นของประเทศกัมพูชา ไทย กัมพูชาได้ทำบันทึกยื่นต่อศาลระหว่างเทศยืนยันที่จะยึดแนวสันเขตแดนตามหลักสากลโดยใช้สันปันน้ำเป็นเส้นแบ่ง]]
 
ผู้ค้นพบปราสาทพระวิหารในสมัยปัจจุบันคือ [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์|พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์]] พระราชโอรสองค์ที่ 11 ใน [[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โดยทรงพบเมื่อปี พ.ศ. 2442 ขณะทรงได้รับแต่งตั้งให้เป็น ข้าหลวงต่างพระองค์ เสด็จไปรับราชการที่มณฑลลาวกาว (อิสาน) ในสมัยรัชกาลที่ 5 และได้ทรงจารึกปี ร.ศ. ที่พบเป็นเลขไทย ตามด้วยพระนามไว้ที่บริเวณชะง่อนผาเป้ยตาดี เป็นข้อความว่า "๑๑๘ สรรพสิทธิ"<ref>[http://www.dailynews.co.th/web/html/popup_news/popup_news_print.aspx?ColumnId=57091&NewsType=2&Template=1 คดีเขาพระวิหาร] เดลินิวส์</ref> ต่อมาเมื่อประเทศฝรั่งเศสเข้าครอบครองอินโดจีนได้ทำสนธิสัญญา พ.ศ. 2447 ในการปักปันเขตแดนกับราชอาณาจักรสยาม โดยมีความตามมาตรา 1 ของสนธิสัญญา ระบุให้ใช้สันปันน้ำเป็นเส้นแบ่งพรมแดน ซึ่งมีผลให้ปราสาทพระวิหารอยู่ในดินแดนไทย ต่อมาใน พ.ศ. 2451 ฝรั่งเศสได้จัดทำแผนที่ฝ่ายเดียว ส่งมอบให้สยาม 50 ชุด แต่ละชุดมี 11 แผ่นและมีแผ่นหนึ่งคือ "แผ่นดงรัก" ที่ครอบคลุมพื้นที่ปราสาทพระวิหาร และไม่ได้ใช้แนวสันปันน้ำเป็นเส้นแบ่งพรมแดน ทำให้ปราสาทพระวิหารในแผนที่อยู่ในดินแดนของกัมพูชา โดยที่รัฐบาลสยามในขณะนั้นไม่ได้รับรองหรือทักท้วงความถูกต้องของแผนที่ดังกล่าว<ref>"since there was no reaction on the part of the Siamese authorities, either then or for many years, they must be held to have acquiesced." "The Siamese Government and later the Thai Government had raised no query about the Annex I map prior to its negotiations with Cambodia in Bangkok in 1958." [http://www.icj-cij.org/docket/files/45/4873.pdf Judgment of 15 June 1962 on Temple of Preah Vihear (Cambodia v. Thailand)], International Court of Justice</ref>
บรรทัด 111:
ภายหลังกัมพูชาได้รับเอกราช [[เจ้านโรดมสีหนุ]] กษัตริย์กัมพูชาสละราชสมบัติเข้าสู่การเมือง ได้ดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรี และประกาศเรียกร้องให้ไทยคืนปราสาทพระวิหาร และไทยไม่ยอมรับ เจ้านโรดมประกาศตัดความสัมพันธ์ทางการทูตกับไทย เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2501<ref name="ความเมืองเรื่องเขาพระวิหาร"/> และในปีต่อมา เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2502 เจ้านโรดมสีหนุได้ฟ้องร้องต่อ [[ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ]] (International Court of Justice) หรือศาลโลก ให้ไทยคืนปราสาทพระวิหาร ฝ่ายไทยต่อสู้คดีโดยมี [[เสนีย์ ปราโมช|ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช]] กับคณะรวม 13 คน เป็นทนายฝ่ายไทย และฝ่ายกัมพูชามีนายดีน แอจิสัน เนติบัณฑิตแห่งศาลสูงสุด อดีตรัฐมนตรีต่างประเทศของสหรัฐอเมริกา เป็นหัวหน้าคณะ กับพวกอีกรวม 9 คน<ref name="ความเมืองเรื่องเขาพระวิหาร"/>
 
กระทั่งวันที่ [[15 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2505]] [[ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ]] ได้ตัดสินให้ปราสาทพระวิหารเป็นของกัมพูชาไทย ด้วยเสียง 9 ต่อ 3<ref>[http://www.icj-cij.org/docket/index.php?sum=284&code=ct&p1=3&p2=3&case=45&k=46&p3=5 คำพิพากษาของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ] {{en icon}}</ref> และในวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2505 หลังจากศาลโลกตัดสินแล้ว 20 วัน รัฐบาลไทยโดย ดร.ถนัด คอมันตร์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ได้มีหนังสือไปยัง นายอูถั่น เลขาธิการสหประชาชาติ เพื่อประท้วงคำพิพากษาของศาลโลก และสงวนสิทธิที่ประเทศไทยจะเรียกร้องปราสาทพระวิหารกลับคืนในอนาคต ทั้งนี้คำตัดสินของศาลโลกนั้นเป็นที่สิ้นสุด ไม่มีการอุทธรณ์ การจะนำคดีกลับขึ้นมาพิจารณาใหม่นั้นสามารถทำได้ถ้ามีหลักฐานใหม่และต้องทำภายในสิบปี
 
หลังจากนั้นไม่นาน กัมพูชาเกิด[[สงครามกลางเมือง]]ขึ้นภายในประเทศ ปราสาทหินแห่งนี้เปิดให้สาธารณชนเข้าชมเพียงช่วงสั้น ๆ ในปี พ.ศ. 2535 แต่ปีต่อมาก็ถูก[[เขมรแดง]]เข้าครอบครอง จากนั้นก็เปิดอีกครั้งจากฝั่งประเทศไทย เมื่อปลายปี พ.ศ. 2541
 
=== การขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกของประเทศกัมพูชา ===
{{บทความหลัก|ความขัดแย้งไทย-กัมพูชา}}
เมื่อ [[8 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2548]] กัมพูชาได้เสนอต่อ[[องค์การยูเนสโก]]ให้ขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเป็น[[มรดกโลก]]อย่างเป็นทางการ ปี [[พ.ศ. 2549]] วันที่ [[30 มกราคม]] ศูนย์มรดกโลกของยูเนสโกที่[[ปารีส]]ขอให้กัมพูชายื่นเอกสารใหม่เกี่ยวกับเขตกันชนของปราสาท และมีคำแนะนำให้ร่วมมือกับฝ่ายไทย<ref name="สารคดี"/> [[พ.ศ. 2550]] กัมพูชายื่นเอกสารขอขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารอีกครั้ง ขณะที่ไทยยื่นบันทึกช่วยจำต่อเอกอัครราชทูตกัมพูชาและเสนอขึ้นทะเบียนร่วม (transboundary property) แต่คณะกรรมการมรดกโลกสากลมีมติเลื่อนการขึ้นทะเบียนออกไป โดยให้ไทย-กัมพูชาร่วมมือกันอย่างใกล้ชิด และในวันที่ [[8 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2551]] องค์การยูเนสโกประกาศขึ้นทะเบียนตามคำขอของกัมพูชาให้ตัวปราสาทพระวิหารเป็นมรดกโลก เฉพาะเพียงตัวปราสาทเท่านั้น โดยผ่านเกณฑ์การพิจารณาข้อ (i) เพียงข้อเดียว<ref name="whitebook">[[สื่อ:Whitepage.pdf| สมุดปกขาวชี้แจงการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเป็นมรดกโลก]]</ref>
 
ในวันที่ [[18 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2551]] กลุ่ม[[พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย]]ได้นำประเด็นนี้มาโจมตีเพื่อขับไล่นาย[[นพดล ปัทมะ]] ให้ออกจากตำแหน่ง[[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ]]<ref>''The Nation'', [http://www.nationmultimedia.com/breakingnews/read.php?newsid=30075849 PAD begins rallying in front of MFA building to protest Preah Vihear Temple map], June 18, 2008.</ref><ref>Saritdet Marukatat, ''The Bangkok Post'', [http://www.bangkokpost.com/topstories/topstories.php?id=128272 This land is my land!] June 18, 2008.</ref><ref>ผู้จัดการออนไลน์, [http://www.manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?NewsID=9510000071392 พันธมิตรฯ ทั่ว ปท.บุกกรุง!ฮือขับไล่“นพดล”ย่ำยีหัวใจไทย!!] 18 มิถุนายน 2551</ref> เหตุการณ์นี้พัฒนาไปสู่[[ความขัดแย้งไทย-กัมพูชา พ.ศ. 2551|ความขัดแย้งระหว่างไทยและกัมพูชา]]ในที่สุด
 
นับตั้งแต่วันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 ทั้งฝ่ายไทยและกัมพูชาได้ใช้ปืนใหญ่ยิงปะทะกัน ซึ่งต่างก็โทษอีกฝ่ายหนึ่งว่าเป็นฝ่ายเริ่มก่อน<ref name="Economist-2011">{{cite web|url=http://www.economist.com/blogs/asiaview/2011/02/open_fire_between_thailand_and_cambodia|title=Shells fly around the temple|publisher=[[The Economist]]|date=February 7, 2011|accessdate=February 7, 2011}}</ref> วันที่ 5 กุมภาพันธ์ กัมพูชาได้ยื่นจดหมายถึงสหประชาชาติ ความว่า "พฤติการณ์ล่าสุดของทหารไทยได้ละเมิดข้อตกลงสันติภาพปารีส พ.ศ. 2534 กฎบัตรสหประชาชาติ และคำพิพากษาของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ พ.ศ. 2505"<ref>[http://www.cnn.com/2011/WORLD/asiapcf/02/06/cambodia.thailand.violence/ Thailand, Cambodia trade shots, charges over ancient temple], CNN สืบค้นเมื่อวันที่ February 8, 2011</ref>
 
=== การตีความคำพิพากษา ===
{{บทความหลัก|กรณีการตีความคำพิพากษาคดีปราสาทพระวิหาร}}
เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2554 กัมพูชาได้ยื่นคำร้องต่อ[[ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ]]เพื่อขอให้ศาลตีความคำพิพากษาคดีปราสาทพระวิหาร พ.ศ. 2505 และในวันเดียวกัน ประเทศกัมพูชาได้ยื่นคำร้องต่อศาล ขอให้ศาลกำหนดวิธีการชั่วคราวเพื่อคุ้มครองสิทธิของตน<ref>INTERNATIONAL COURT OF JUSTICE, [http://www.icj-cij.org/docket/files/151/16480.pdf Cambodia files an Application requesting interpretation of the Judgment rendered by the Court on 15 June 1962 in the case concerning the Temple of Preah Vihear (Cambodia v. Thailand) and also asks for the urgent indication of provisional measures], 2 May 2011</ref> วันที่ 18 กรกฎาคม 2554 ศาลจึงสั่งกำหนดวิธีการชั่วคราวบางประการ
 
== โบราณสถานและโบราณวัตถุที่สันนิษฐานว่าเกี่ยวเนื่อง ==
โบราณสถานและโบราณวัตถุที่สันนิษฐานว่าเกี่ยวเนื่องกับปราสาทพระวิหาร มีดังนี้
* '''ภาพสลักบนหน้าผามออีแดง''' : เป็นภาพสลักนูนต่ำรูปเทพชายและหญิงในท่าเรียงกัน 3 องค์ และยังมีส่วนที่สลักไม่เสร็จ