ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดอนทรายใต้น้ำ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Horus ย้ายหน้า หาดสันดอน ไปยัง ดอนทรายใต้น้ำ: ศัพท์บัญญัติ
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[File:GughSandbar.JPG|right|thumb|ดอนทรายใต้น้ำระหว่างเซนต์แอกเนสและกิวบนหมู่เกาะซิลี นอกฝั่งคอร์นวอล ประเทศอังกฤษ สหราชอาณาจักร]]
[[ไฟล์:WayaWayasewa.jpg|thumb|หาดสันดอนแห่งหนึ่งบน[[หมู่เกาะยะสะวะ]] [[ประเทศฟิจิ]]]]
ในวิชา[[สมุทรศาสตร์]] [[ธรณีสัณฐานวิทยา]]และ[[โลกศาสตร์]] '''ดอนทรายใต้น้ำ''' ({{lang-en|shoal, sandbank, sandbar, หรือ gravelbar}}) เป็นสันดอน ตลิ่งหรือดอนทรายที่จมอยู่ใต้น้ำตามธรรมชาติ ประกอบด้วยหรือปกคลุมด้วยทรายหรือวัสดุร่วนอื่น และยกขึ้นจากชั้นหินแหล่งน้ำจนใกล้ผิวน้ำ มักหมายถึงสันดอน ตลิ่งหรือดอนทรายที่สูงพอเป็นอันตรายต่อการเดินเรือ<ref name="RuteckiOthers2014a">D Rutecki, E Nestler, T Dellapenna, and A Pembroke, 2014. [http://www.boem.gov/Final-Draft-Report/ ''Understanding the Habitat Value and Function of Shoal/Ridge/Trough Complexes to Fish and Fisheries on the Atlantic and Gulf of Mexico Outer Continental Shelf. Draft Literature Synthesis for the U.S. Dept. of the Interior, Bureau of Ocean Energy Management. Contract # M12PS00031'']. Bureau of Ocean Energy Management, U.S. Department of the Interior. 116 pp.</ref><ref name="NeuendorfOthers2005a">Neuendorf, K.K.E., J.P. Mehl, Jr., and J.A. Jackson, eds. (2005) ''Glossary of Geology'' (5th ed.). Alexandria, Virginia, American Geological Institute. 779 pp. {{ISBN|0-922152-76-4}}</ref>
'''หาดสันดอน''' ({{lang-en|shoal, sandbank}}) ส่วนใหญ่เกิดจาก[[ทราย]]ขนาดปานกลางเรียงตัวกันเป็นชั้นบาง ๆ ทำมุมเล็กน้อยกับพื้น[[ทะเล]] ซึ่งแต่ละชั้นจะต่างกันที่ขนาดของเม็ดทราย และ[[แร่]]ที่เป็นส่วนประกอบ ชั้นที่มีหิน[[กรวด]]อยู่จะปรากฏให้เห็นในปัจจุบัน การเพิ่มขึ้นของส่วนที่ยื่นออกไปในทะเล (cusps) จะทำให้เกิดเป็นลักษณะของแอ่งน้ำตัดกับเส้นฝั่งทะเลแบบ cross-bedded ถ้ามองแบบ cross section ก็จะเห็นเป็นลักษณะเหมือนระย้า (festoon-shaped)
 
คำนี้ยังใช้ได้หลายอย่างซึ่งอาจมีความหมายคล้ายหรือแตกต่างจากที่ใช้ในวรรณกรรมภูมิศาสตร์ ธรณีสัณฐานวิทยาและสมุทรศาสตร์ บางทีคำนี้หมายถึง (1) ที่ค่อนข้างตื้นใด ๆ ใต้ลำน้ำ ทะเลสาป ทะเลหรือแหล่งน้ำอื่น (2) บริเวณหินที่ก้นสมุทรภายในพื้นที่ที่ทำแผนที่เพื่อความมุ่งหมายการเดินเรือ (3) การเติบโตของพืชพรรณที่ก้นทะเลสาบลึกที่เกิดที่ทุกความลึก (4) "shoal" ยังเป็นกริยาหมายถึงกระบวนการเปลี่ยนจากระดับน้ำลึกมาระดับน้ำตื้นกว่า<ref name="NeuendorfOthers2005a"/>
โครงสร้างที่เกิดจากการกระทำของสิ่งมีชีวิต จะเกิดจากการกระทำของสิ่งมีชีวิตจำพวก[[ไอโซพอด]] [[แอมฟิโพดา]] [[มอลลัสกา]] [[ปู]] รวมไปถึงรอยเท้าของนกและแมลง
 
'''ขั้นตอนในการเกิดของหาดจากการกระทำของลม'''
* หาดมีความชันเพิ่มขึ้น เนื่องจากการกัดเซาะบริเวณด้านหน้าของหาด
* การเอ่อล้นของน้ำทำให้เกิดชั้นบางของตะกอนขนาด mud และ gravel
* สันแนวดินดอน ถูกทำให้กลายเป็นตะกอนและถูกพัดพาลงไปในแอ่งน้ำหรือช่องน้ำของทะเลสาบน้ำเค็ม
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
* H.E.Reinech and I.B.Singh, ''Depositional Sediment Environments'', Second Edition, Germany:Springer-Verlag Berlin Heidelberg New York. 1980.
 
{{สมุทรศาสตร์กายภาพ}}
[[หมวดหมู่:ดอนทรายใต้น้ำ]]
[[หมวดหมู่:ธรณีสัณฐานชายฝั่งและมหาสมุทร]]
[[หมวดหมู่:ธรณีสัณฐานธารน้ำ]]
[[หมวดหมู่:อุทกวิทยา]]
[[หมวดหมู่:ธรณีสัณฐานธารน้ำภูมิศาสตร์ชายฝั่ง]]
[[หมวดหมู่:ธรณีสัณฐานชายฝั่งและมหาสมุทรสมุทรศาสตร์กายภาพ]]
[[หมวดหมู่:เกาะสันดอน]]
[[หมวดหมู่:อภิธานศัพท์สมุทรศาสตร์]]