ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เฟซบุ๊ก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล เว็บไซต์
| name = Facebookเฟซบุ๊ก
| logo = [[ไฟล์:Facebook_New_Logo_(2015).svg|220px|สัญลักษณ์ของเฟซบุ๊ก]]
| url = {{URL|http://www.facebook.com}}
บรรทัด 52:
 
=== เคมบริดจ์แอนะลิติกา ===
ในเดือนมีนาคม 2561 ผู้เป่านกหวีดเปิดเผยว่า มีการขายสารสนเทศส่วนบุคคลของผู้ใช้เฟซบุ๊กกว่า 50 ล้านคนให้[[เคมบริดจ์แอนะลิติกา]] บริษัทวิเคราะห์ข้อมูลการเมืองซึ่งทำงานให้การรณรงค์ทางการเมืองของ[[ดอนัลด์ ทรัมป์]] แอพที่การวิจัยวิทยาศาสตร์ทั่วโลก (Global Science Research) สร้างรวบรวมข้อมูลดังกล่าว<ref>{{Cite web| last1 = Lewis| first1 = Paul| last2 = Wong| first2 = Julia Carrie| title = Facebook employs psychologist whose firm sold data to Cambridge Analytica| work = the Guardian| accessdate = 2018-03-20| date = 2018-03-18| url = https://www.theguardian.com/news/2018/mar/18/facebook-cambridge-analytica-joseph-chancellor-gsr}}</ref> แม้ว่ามีผู้อาสาใช้แอพนี้ประมาณ 270,000 คน แต่[[เอพีไอ]]ของเฟซบุ๊กยังอนุญาตให้เก็บรวบรวมข้อมูลจากเพื่อนของผู้ใช้แอพดังกล่าว<ref>{{Cite web| last = Franceschi-Bicchierai| first = Lorenzo| title = Why We're Not Calling the Cambridge Analytica Story a 'Data Breach'| work = Motherboard| accessdate = 2018-03-20| date = 2018-03-19| url = https://motherboard.vice.com/en_us/article/3kjzvk/facebook-cambridge-analytica-not-a-data-breach}}</ref> เมื่อมีการรายงานสารสนเทศดังกล่าวต่อเฟซบุ๊กครั้งแรก เฟซบุ๊กพยายามลดความสำคัญของการละเมิดดังกล่าวและพยายามเสนอว่าเคมบริดจ์แอนะลิติกาไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลที่ถูกขโมยไปแล้ว ทว่า เมื่อมีการตรวจสอบละเอียดเพิ่มขึ้นแล้ว เฟซบุ๊กออกแถลงการณ์แสดงความตื่นตระหนกและระงับเคมบริดจ์แอนะลิติกา ขณะที่การทบทวนเอกสารและการสัมภาษณ์กับอดีตลูกจ้างของเฟซบุ๊กเสนอว่าเคมบริดจ์แอนะลิติกายังครอบครองข้อมูลนั้น<ref>{{cite web|url=https://www.nytimes.com/2018/03/17/us/politics/cambridge-analytica-trump-campaign.html|title=How Trump Consultants Exploited the Facebook Data of Millions|first1=Matthew|last1=Rosenberg|first2=Nicholas|last2=Confessore|first3=Carole|last3=Cadwalladr|date=March 17, 2018|publisher=|via=NYTimes.com}}</ref> เป็นการละเมิดกฤษฎีกาความยินยอมที่มีผลตามกฎหมายโดยเฟซบุ๊กกับคณะกรรมการการค้ากลาง (Federal Trade Commission) และการละเมิดกฤษฎีกาความยินยอมอาจมีโทษปรับถึง 40,000 ดอลลาร์สหรัฐต่อการละเมิดหนึ่งครั้ง หมายความว่า หากพิสูจน์ได้ว่ามีการแบ่งปันข้อมูลของผู้ใช้ 50 ล้านคนจริง บริษัทอาจเสียค่าปรับหลักล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ<ref>{{Cite news|url=https://www.washingtonpost.com/news/the-switch/wp/2018/03/18/facebook-may-have-violated-ftc-privacy-deal-say-former-federal-officials-triggering-risk-of-massive-fines/|title=Facebook may have violated FTC privacy deal, say former federal officials, triggering risk of massive fines|last=Timberg|first=Craig|date=2018-03-18|work=Washington Post|access-date=2018-03-25|last2=Romm|first2=Tony|language=en-US|issn=0190-8286}}</ref>
 
ตามข้อมูลของผู้สื่อข่าว ''เดอะการ์เดียน'' คาโรล คัดวอลลัดเดอร์ (Carole Cadwalladr) ซึ่งเปิดเผยเรื่องนี้ ทั้งเฟซบุ๊กและเคมบริดจ์แอนะลิติกาขู่ฟ้องหนังสือพิมพ์หากพิมพ์เรื่องนี้และพยายามยับยั้งการพิมพ์เรื่องนี้อย่างต่อเนื่อง เมื่อมีการพิมพ์เรื่องนี้ เฟซบุ๊กอ้างว่าถูก "โกหก" คัดวอลลัดเดอร์กล่าวว่าเฟซบุ๊กพยายามผลักการกล่าวโทษสู่บุคคลภายนอก นิก ทอมสันแห่ง''ไวอัด'' และ ''ซีบีเอสนิวส์'' ชี้ว่าเคมบริดจ์แอนะลิติกาได้ข้อมูลส่วนบุคคลทั้งหมดโดยไม่จำเป็นต้อง "ละเมิด" เฟซบุ๊ก และ "มันไม่ได้ผลเพราะบางคนแฮ็กเข้าไปพังสิ่งต่าง ๆ แต่มันได้ผลเพราะเฟซบุ๊กได้สร้างแบบจำลองโฆษณาที่รุกล้ำมากที่สุดบ้าที่สุดในประวัติศาสตร์โลก และบางคนใช้ประโยชน์จากมัน"<ref>{{cite web|url=https://www.cbsnews.com/news/cambridge-analytica-facebook-knew-for-two-years-no-action-taken/|title=Facebook knew of illicit user profile harvesting for 2 years, never acted|publisher=}}</ref> วันที่ 23 มีนาคม 2561 ศาลสูงบริติชอนุมัติหมายค้นตามคำขอของสำนักงานกรรมาธิการสารสนเทศเพื่อค้นสำนักงานกรุงลอนดอนของเคมบริดจ์แอนะลิติกา<ref>{{Cite news|url=https://www.cnbc.com/2018/03/23/uk-high-court-grants-cambridge-analytica-search-warrant-to-ico.html|title=UK High Court grants Cambridge Analytica search warrant to ICO|last=CNBC|date=2018-03-23|work=CNBC|access-date=2018-03-23}}</ref>
 
วันที่ 25 มีนาคม ซักเกอร์เบิร์กลงโฆษณาในหนังสือพิมพ์สหราชอาณาจักรและสหรัฐขออภัยเรื่อง "การละเมิดความเชื่อมั่น" ซึ่งมีทั้ง''ซันเดย์เทเลกราฟ'', ''ซันเดย์ไทมส์'', ''เมลออนซันเดย์'', ''ดิออฟเซิร์ฟเวอร์'', ''ซันเดย์มิเรอร์''และ''ซันเดย์เอ็กซ์เพรส''<ref>{{Cite news|url=http://www.bbc.co.uk/news/business-43532948|title=Facebook boss apologises in newspaper ads|date=2018-03-25|work=BBC News|access-date=2018-03-25|language=en-GB}}</ref>
 
== บริษัท ==