ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เฟซบุ๊ก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 50:
== ข้อพิพาทและการวิจารณ์ ==
เฟซบุ๊กประสบกับข้อพิพาทหลายเรื่อง เฟซบุ๊กถูกปิดกั้นการเข้าถึงเป็นช่วง ๆ ในหลายประเทศ อย่างเช่นใน [[ประเทศจีน]],<ref name="chinablock"> {{cite web|url= http://www.ferghana.ru/news.php?id=15794&mode=snews|title= Uzbek authorities have blocked access to Facebook|accessdate= 21 October 2010}} {{cite web |title= China's Facebook Status: Blocked |url= http://blogs.abcnews.com/theworldnewser/2009/07/chinas-facebook-status-blocked.html |date= July 8, 2009 |work= |publisher= ABC News |accessdate=13 July 2009}}</ref> [[เวียดนาม]]<ref name="benstocking">{{cite news |url=http://www.sfgate.com/cgi-bin/article.cgi?f=/n/a/2009/11/17/international/i033256S37.DTL |title=Vietnam Internet users fear Facebook blackout |author=Ben Stocking |agency=Associated Press |date=2009-11-17 |accessdate=2009-11-17 | work=The San Francisco Chronicle}} {{ลิงก์เสีย|date=ตุลาคม 2553}}</ref> [[อิหร่าน]]<ref>{{cite web |last=Shahi |first=Afshin. |url=http://dailystaregypt.com/article.aspx?ArticleID=15313 |title=Iran's Digital War |publisher=Daily News Egypt |date=July 27, 2008 |accessdate=August 16, 2008}}</ref> [[อุซเบกิสถาน]]<ref> {{Ru icon}}</ref> [[ปากีสถาน]]<ref>{{cite news|last=Cooper |first=Charles |url=http://www.cbsnews.com/8301-501465_162-20005388-501465.html |title=Pakistan Bans Facebook Over Muhammad Caricature Row&nbsp;– Tech Talk |publisher=CBS News |date=2010-05-19 |accessdate=2010-06-26}}</ref> [[ซีเรีย]]<ref>{{cite news |url=http://www.economist.com/world/mideast-africa/displaystory.cfm?story_id=11792330 |title=Red lines that cannot be crossed |publisher=The Economist |date=July 24, 2008 |accessdate=August 17, 2008}}</ref> [[ลาว]]<ref>[http://www.economist.com/node/11792330]</ref> [[กัมพูชา]]<ref>[http://www.economist.com/node/11792330]</ref> [[พม่า]]<ref>[http://www.cbsnews.com/8301-501465_162-20005388-501465.html]</ref> [[บรูไน]]<ref>[http://www.cbsnews.com/8301-501465_162-20005388-501465.html]</ref> และ[[บังคลาเทศ]]<ref name="reviewz">{{cite web |author= Ben Escurado |url=http://techviewz.org/2010/11/saudi-arabia-blocks-facebook.html|title=Saudi Arabia blocks Facebook|publisher=TechViewz.Org|date=2010-11-14 |accessdate=2010-11-16}}</ref> ในเหตุผลที่แตกต่างกันไป ตัวอย่างเช่น เนื้อหาการต่อต้านอิสลามและการแบ่งแยกทางศาสนาในเฟซบุ๊ก และยังถูกห้ามใช้จากหลายประเทศ และยังถูกห้ามใช้ในสถานที่ทำงานหลายที่เพื่อป้องกันพนักงานเสียเวลาในการทำงาน<ref>{{cite news |last=Benzie |first=Robert |url=http://www.thestar.com/News/article/210014 |title=Facebook banned for Ontario staffers |publisher=TheStar.com |date=May 3, 2007 |accessdate=August 16, 2008 | location=Toronto}}</ref> และนโยบายความเป็นส่วนตัวก็เป็นประเด็น และความปลอดภัยของบัญชีผู้ใช้ก็มีการไกล่เกลี่ยกันหลายต่อหลายครั้ง เฟซบุ๊กได้ลงมือแก้ปัญหาคดีความที่เกี่ยวกับซอร์ซโคดและทรัพย์สินทางปัญญา<ref>{{cite news |url=http://bits.blogs.nytimes.com/2008/04/07/facebook-to-settle-thorny-lawsuit-over-its-origins/ |title=Facebook to Settle Thorny Lawsuit Over Its Origins |publisher=The New York Times (blog) |date=April 7, 2008 |accessdate=November 5, 2009 | first=Brad | last=Stone}}</ref>
 
=== เคมบริดจ์แอนะลิติกา ===
ในเดือนมีนาคม 2561 ผู้เป่านกหวีดเปิดเผยว่า มีการขายสารสนเทศส่วนบุคคลของผู้ใช้เฟซบุ๊กกว่า 50 ล้านคนให้[[เคมบริดจ์แอนะลิติกา]] บริษัทวิเคราะห์ข้อมูลการเมืองซึ่งทำงานให้การรณรงค์ทางการเมืองของ[[ดอนัลด์ ทรัมป์]] แอพที่การวิจัยวิทยาศาสตร์ทั่วโลก (Global Science Research) สร้างรวบรวมข้อมูลดังกล่าว แม้ว่ามีผู้อาสาใช้แอพนี้ประมาณ 270,000 คน แต่[[เอพีไอ]]ของเฟซบุ๊กยังอนุญาตให้เก็บรวบรวมข้อมูลจากเพื่อนของผู้ใช้แอพดังกล่าว เมื่อมีการรายงานสารสนเทศดังกล่าวต่อเฟซบุ๊กครั้งแรก เฟซบุ๊กพยายามลดความสำคัญของการละเมิดดังกล่าวและพยายามเสนอว่าเคมบริดจ์แอนะลิติกาไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลที่ถูกขโมยไปแล้ว ทว่า เมื่อมีการตรวจสอบละเอียดเพิ่มขึ้นแล้ว เฟซบุ๊กออกแถลงการณ์แสดงความตื่นตระหนกและระงับเคมบริดจ์แอนะลิติกา ขณะที่การทบทวนเอกสารและการสัมภาษณ์กับอดีตลูกจ้างของเฟซบุ๊กเสนอว่าเคมบริดจ์แอนะลิติกายังครอบครองข้อมูลนั้น เป็นการละเมิดกฤษฎีกาความยินยอมที่มีผลตามกฎหมายโดยเฟซบุ๊กกับคณะกรรมการการค้ากลาง (Federal Trade Commission) และการละเมิดกฤษฎีกาความยินยอมอาจมีโทษปรับถึง 40,000 ดอลลาร์สหรัฐต่อการละเมิดหนึ่งครั้ง หมายความว่า หากพิสูจน์ได้ว่ามีการแบ่งปันข้อมูลของผู้ใช้ 50 ล้านคนจริง บริษัทอาจเสียค่าปรับหลักล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ
 
== บริษัท ==