ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โลก (ดาวเคราะห์)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 124:
คำว่า '''โลก''' ใน[[ภาษาไทย]]มีที่มาจากคำใน[[ภาษาบาลี]] ''โลก'' (โล-กะ) คนไทยใช้คำนี้เรียกโลกตั้งแต่เมื่อใดนั้นไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัด แต่คาดว่าน่าจะได้รับอิทธิพลสืบทอดผ่านมาทาง[[ศาสนาพุทธ|พระพุทธศาสนา]] เดิมนั้นคำว่าโลกไม่ได้หมายความเฉพาะเพียงแต่โลกที่เป็นวัตถุธาตุ แต่ใช้ในหลายความหมาย ได้แก่ "หมู่" "เหล่า" "ขอบเขต" "ทั้งหมดในขอบเขต" "ขอบเขตอาศัย" "ความเป็นไป" "ความเป็นอยู่"<ref>มหาวรรค ญาณกถา ข้อ ๒๗๕, พระไตรปิฎก เล่มที่ 31 พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค</ref> หากกล่าวถึงโลกทั้ง ๓ ก็จะหมายถึง สังขารโลก (โลกคือสังขาร) สัตว์โลก (โลกคือหมู่สัตว์) และโอกาสโลก (โลกคือแผ่นดิน)<ref>อรรถาธิบาย โลกวิทู, พระไตรปิฎกอรรถกถา เล่มที่ 1 อรรถกถาพระวินัย สมันตปาสาทิกา มหาวิภังควรรณนา</ref> ปัจจุบันมีการใช้คำว่า [[โลก]]ในความหมายเกี่ยวข้องกับมนุษย์ หรือ[[อารยธรรม|อารยธรรมมนุษย์]]<ref>[http://rirs3.royin.go.th/new-search/word-35-search.asp พจนานุกรมไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒]</ref> (ซึ่งตรงกับคำว่า ''World'' ในภาษาอังกฤษ) นอกเหนือจากความหมายดาวเคราะห์ที่นิยมใช้ทั่วไป
 
คำว่าโลกในภาษาต่างประเทศ [[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]ร่วมสมัยใช้คำว่า {{anchor|Name|Etymology}} ''Earth'' พัฒนามาจากรูปแบบ[[ภาษาอังกฤษสมัยกลาง]]ต่าง ๆ กัน{{refn|Including ''eorþe'', ''erþe'', ''erde'', and ''erthe''.<ref name=oedearth/>}}<ref name="oxford">''The New Oxford Dictionary of English'', {{nowrap|1st ed.}} "earth". Oxford University Press (Oxford), 1998. ISBN 0-19-861263-X.</ref> ซึ่งสืบมาจากคำนามใน[[ภาษาอังกฤษเก่า|ภาษาอังกฤษสมัยเก่า]]ที่นิยมสะกดว่า ''{{linktext|eorðe}}''<ref name=oedearth>Oxford English Dictionary, {{nowrap|3rd ed.}} "earth, ''n.¹''" Oxford University Press (Oxford), 2010.</ref> มีรากเดียวกันกับทุก[[กลุ่มภาษาเจอร์แมนิก|ภาษาในกลุ่มเจอร์แมนิก]] และ[[ภาษาโปรโตเจอร์แมนิก|โปรโตเจอร์แมนิก]]ที่ได้ประกอบเป็น [[wikt:Appendix:Proto-Germanic/erþō|*''erþō'']] ตามที่ปรากฏในสมัยแรก ๆ มีการใช้คำ ''eorðe'' เพื่อแปลความจากคำ[[ภาษาลาติน]] ''{{linktext|terra}}'' และ[[ภาษากรีก]] {{linktext|γῆ}} (''gē'') ในความหมาย พื้นดิน{{refn|As in ''[[Beowulf]]'' (1531-33):<br>''Wearp ða wundelmæl&nbsp;&nbsp;&nbsp;wrættum gebunden<br>yrre oretta,&nbsp;&nbsp;&nbsp;þæt hit on '''eorðan''' læg,<br>stið ond stylecg.''<ref name=oedearth/><ref name=beo/><br>"He threw the artfully-wound sword so that it lay upon the '''earth''', firm and sharp-edged."<ref name=beo>''Beowulf''. Trans. Chad Matlick in [http://www.as.wvu.edu/english/oeoe/english311/1799.html "''Beowulf'': Lines 1399 to 1799"]. West Virginia University. Accessed 5 Aug 2014. {{ang icon}} & {{en icon}}</ref>}} ดิน{{refn|As in the Old English glosses of the ''[[Lindisfarne Gospels]]'' ([[Luke 13]]:7):<br>Succidite ergo illam ut quid etiam '''terram''' occupat: ''hrendas'' uel ''scearfað forðon ðailca ''uel'' hia to huon uutedlice '''eorðo''' gionetað ''uel'' gemerras.''<ref name=oedearth/><br>"Remove it. Why should it use up the '''soil'''?"<ref>''Mounce Reverse-Intralinear New Testament'': "[https://www.biblegateway.com/passage/?search=Luke%2013:7&version=MOUNCE Luke 13:7]". Hosted at ''Bible Gateway''. 2014. Accessed 5 Aug 2014. {{grc icon}} & {{en icon}}</ref>}} ผืนดินแห้ง{{refn|As in [[Ælfric of Eynsham|Ælfric]]'s ''[[Heptateuch]]'' ([[Book of Genesis|Gen. 1]]:10):<br>''Ond God gecygde ða drignysse '''eorðan''' ond ðære wætera gegaderunge he het sæ''.<ref name=oedearth/><ref>Ælfric of Eynsham. [http://wordhord.org/nasb/genesis.html ''Heptateuch''. Reprinted by S.J. Crawford as ''The Old English Version of the Heptateuch, Ælfric’s Treatise on the Old and New Testament and his Preface to Genesis''. Humphrey Milford (London), 1922.] Hosted at ''Wordhord''. Accessed 5 Aug 2014. {{ang icon}}</ref><br>"And God called the dry land '''Earth'''; and the gathering together of the waters called he Seas."<ref>[[King James Version]] of [[the Bible]]: "[https://www.biblegateway.com/passage/?search=Genesis%201:10&version=KJV Genesis 1:10]". Hosted at ''Bible Gateway''. 2014. Accessed 5 August 2014.</ref>}} โลกมนุษย์{{refn|As in the [[Wessex Gospels]] ([[Matthew 28|Matt. 28]]:18):<br>''Me is geseald ælc anweald on heofonan & on '''eorðan'''''.<ref name=oedearth/><br>"All authority in heaven and on '''earth''' has been given to me."<ref>''Mounce Reverse-Intralinear New Testament'': "[https://www.biblegateway.com/passage/?search=Matthew+28%3A18&version=MOUNCE Matthew 28:18]". Hosted at ''Bible Gateway''. 2014. Accessed 5 Aug 2014. {{grc icon}} & {{en icon}}</ref>}} พื้นผิวของโลก (รวมทั้งทะเล){{refn|As in the [[Codex Junius]]'s ''[[Genesis A|Genesis]]'' (112-16):<br>''her ærest gesceop&nbsp;&nbsp;&nbsp;ece drihten,<br>helm eallwihta,&nbsp;&nbsp;&nbsp;heofon and '''eorðan''',<br>rodor arærde&nbsp;&nbsp;&nbsp;and þis rume land<br>gestaþelode&nbsp;&nbsp;&nbsp;strangum mihtum,<br>frea ælmihtig.''<ref name=oedearth/><ref>"[http://www.maldura.unipd.it/dllags/brunetti/OE/TESTI/GenesisA/DATI/testo.html Genesis A]". Hosted at the Dept. of Linguistic Studies at the University of Padua. Accessed 5 August 2014. {{ang icon}}</ref><br>"Here first with mighty power the Everlasting Lord, the Helm of all created things, Almighty King, made '''earth''' and heaven, raised up the sky and founded the spacious land."<ref>Killings, Douglas. [http://www.gutenberg.org/files/618/618-h/618-h.htm ''Codex Junius 11'', I.ii]. 1996. Hosted at Project Gutenberg. Accessed 5 August 2014.</ref>}} ตลอดจนพิภพโลกทั้งมวล{{refn|As in [[Ælfric of Eynsham|Ælfric]]'s ''On the Seasons of the Year'' {{nowrap|(Ch. 6,}} §9):<br>''Seo '''eorðe''' stent on gelicnysse anre pinnhnyte, & seo sunne glit onbutan be Godes gesetnysse.''<ref name=oedearth/><br>"The '''earth''' can be compared to a pine cone, and the sun glides around it by God's decree.<ref>Ælfric, Abbot of Eynsham. "''De temporibus annis''" Trans. {{nowrap|P. Baker}} as "[http://faculty.virginia.edu/OldEnglish/aelfric/detemp.html On the Seasons of the Year]". Hosted at Old English at the University of Virginia, 1998. Accessed 6 August 2014.</ref>}} เช่นเดียวกันกับ [[เทอร์รา (เทพปกรณัม)|Terraเทอร์รา]] และ Gaia[[ไกอา]] โลกถือว่าเป็น[[พระแม่ธรณี|เทพเจ้า]]ตามลัทธิ[[ลัทธินอกศาสนา|เพเกิน]]ของชาวเจอร์แมนิก-[[ชาวแองเกิล]]ตามที่[[แทซิทัส]]ได้บันทึกไว้ในบรรดาผู้ศรัทธาในเทพ[[เนอทัส]]<ref>[[Tacitus]]. ''[[Germania (Tacitus)|Germania]]'', {{nowrap|Ch. 40}}.</ref> และภายหลังตาม[[เทพปกรณัมนอร์ส|เทวตำนานนอร์ส]] คือ ยูร์ด ([[ยูร์ด|Jörð]]) ยักษิณีซึ่งสมรสกับ[[โอดิน]]และเป็นมารดาของ[[ทอร์]]<ref name="SIMEK179">[[Rudolf Simek|Simek, Rudolf]]. Trans. Angela Hall as ''Dictionary of Northern Mythology'', {{nowrap|p. 179.}} [[Boydell & Brewer|D.S. Brewer]], 2007. ISBN 0-85991-513-1.</ref>
 
อีกหลายภาษาที่มีความเป็นมา[[ตระกูลภาษาไท-กะได|ใกล้เคียงกับไทย]]เช่น[[ภาษาลาว]]ก็เรียกโลกว่า ໂລກ (''โลก'') เช่นเดียวกัน ปัจจุบัน[[ภาษาเยอรมัน|เยอรมัน]]ใช้คำเรียกโลกคือ Erde (''แอร์เดอะ'') คล้ายกับ[[ภาษาดัตช์|ดัตช์]] Aarde (''อาร์เดอะ''), กลุ่ม[[ภาษาโรมานซ์]] สเปนใช้คำ Tierra (''ตีเอร์รา'') คล้ายกับ[[ภาษาอิตาลี|อิตาลี]]ที่ใช้ Terra (''เตร์รา'') หรือ[[ภาษาฝรั่งเศส|ฝรั่งเศส]] Terre (''แตร์''), [[ภาษาจีน]]ใช้ 地球 (Dìqiú ''ตี้ฉิว'') หรือ 坤輿 (Kūnyú ''คุนหยู๋'') [[ภาษาญี่ปุ่น|ญี่ปุ่น]]เรียก 地球 (Chikyū ''จิคีว'') [[ภาษาเกาหลี|เกาหลี]]เรียก 지구 (Jigu ''ชีกู'') และ[[ภาษาสันสกฤต|สันสกฤต]]ใช้คำ पृथ्वी (''ปฐวี'')