ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โลก (ดาวเคราะห์)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 611:
{{Main|โลกในวัฒนธรรม}}
[[ไฟล์:AS8-13-2329.jpg|thumb|right|การ "[[เอิร์ธไรซ์|อุทัยของโลก]]" ครั้งแรกที่มนุษย์ได้เห็นกับตาโดยตรง ถ่ายภาพโดยนักบินอวกาศที่โดยสารยาน [[โครงการอะพอลโล|อะพอลโล]] 8]]
สัญลักษณ์ทางดาราศาสตร์มาตรฐานของโลกประกอบด้วยกากบาทที่มีวงกลมล้อมรอบอยู่ [[ไฟล์:Earth symbol.svg|18px]]<ref name=liungman2004/> เป็นตัวแทนของสี่มุมโลก
 
วัฒนธรรมมนุษย์พัฒนามุมมองต่าง ๆ ของโลก บางทีโลกก็มี[[มานุษยรูปนิยม|บุคลาธิษฐาน]]เป็น[[เทวดา|เทพเจ้า]] ในหลายวัฒนธรรม เทพมารดา (mother goddess) เป็นเทพเจ้าความอุดมสมบูรณ์หลักด้วย และเมื่อกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 หลักไกอาเปรียบเทียบสิ่งแวดล้อมของโลกกับสิ่งมีชีวิตเป็นสิ่งมีชีวิตกำกับตัวเองเดี่ยว ๆ ที่นำไปสู่การสร้างเสถียรภาพอย่างกว้างขวางซึ่งภาวะการอยู่อาศัยได้ ปรัมปราการสรรค์สร้างในหลายศาสนามีว่า เทพเจ้าพระองค์เดียวหรือหลายพระองค์ทรงสร้างโลก
นับว่าผิดแปลกไปกว่าดาวเคราะห์อื่น ๆ ที่ร่วมระบบสุริยะด้วยกัน เพราะมนุษยชาติไม่เคยมองโลกในฐานที่เป็นวัตถุเคลื่อนที่เลยจนกระทั่งถึงคริสต์ศตวรรษที่ 16<ref name=arnett20060716/> โลกมักได้รับการยกให้เป็นเทพเจ้าหรือเทพธิดาผู้พิเศษพิสดารต่าง ๆ เรื่อยมา ในหลายวัฒนธรรมจะปรากฏ[[พระแม่ธรณี|พระแม่เจ้า]]ซึ่งมีลักษณาการเช่นเทพเจ้าแห่งความอุดมสมบูรณ์ ตามตำนานแห่งการก่อกำเนิดในหลากหลายศาสนาได้กล่าวถึงเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับการสรรค์สร้างโลกว่าถือกำเนิดโดยพลังอำนาจอันยิ่งใหญ่ของเทพเจ้าหรือพหุเทพ ความแปลกกันไปในแต่ละกลุ่มศาสนาที่มักเกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กับสาขาที่[[ความเชื่อมูลฐานทางศาสนา|ศรัทธาหลักมูลฐานเดิม]]ของนิกายโปรเตสแตนต์<ref name=Dutch2002/> หรือในศาสนาอิสลาม<ref name=edis2003/> คือยืนยันการ[[อรรถปริวรรตศาสตร์|แปลความหมาย]]ตำนานการสรรค์สร้างสรรพสิ่งตาม[[คัมภีร์]]ของศาสนานั้น ๆ ของตนว่าจริงแท้ตามลำดับพยัญชนะ และควรพิจารณาร่วมไปกับหรือเข้ามาแทนที่คำอธิบายทางวิทยาศาสตร์ตามตำราในเรื่องของการสร้างโลกรวมไปถึงจุดกำเนิดและพัฒนาการของสิ่งมีชีวิต<ref name=jge53_3_319/> คำอ้างมากมายเหล่านั้นถูกคัดค้านโดยชุมชนวิทยาศาสตร์<ref name=arghg4_143/><ref name=sec_nap2008/> และโดยกลุ่มศาสนาอื่น ๆ <ref name=jrst43_4_419/><ref name=frye1983/><ref name=nathist106_2_16/> ตัวอย่างที่มีชื่อเสียงได้แก่ [[ปฏิทัศน์เรื่องการสร้างโลกและวิวัฒนาการ]]
 
การสอบสวนทางวิทยาศาสตร์ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมในมุมมองของมนุษย์ต่อโลก ในโลกตะวันตก ความเชื่อเรื่องโลกแบนถูกแทนด้วยโลกทรงกลมอันเนื่องจากพีทาโกรัสในศตวรรษที่ 6 ก่อนคริสตกาล ต่อมาเชื่อว่าโลกเป็นศูนย์กลางของเอกภพจนคริสต์ศตวรรษที่ 16 เมื่อนักวิทยาศาสตร์ตั้งทฤษฎีว่าโลกเป็นวัตถุเคลื่อที่โดยเทียบกับดาวเคราะห์อื่นใน[[ระบบสุริยะ]]ครั้งแรก เนื่องจากความพยายามของนักวิชาการคริสต์ศาสนิกชนผู้ทรงอิทธิพลและนักบวชอย่างเจมส์ อัชเชอร์ ผู้มุ่งหาอายุของโลกผ่านการวิเคราะห์พงศาวลีวิทยาในคัมภีร์ไบเบิล ชาวตะวันตกก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 19 โดยทั่วไปจึงเชื่อว่าโลกมีอายุเก่าสุดไม่กี่พันปี จนระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 ที่นักธรณีวิทยาทราบว่าโลกมีอายุหลายล้านปีแล้ว
ในอดีตเคยมีความเชื่อในระดับที่แตกต่างกันไปว่าโลกนั้นแบน<ref name=russell1997/> แต่ก็ถูกแทนที่ด้วยแนวคิดโลกกลมซึ่งเป็นแนวคิดที่ได้รับการเชื่อถือโดย[[พีทาโกรัส]] (ศตวรรษที่หกก่อนคริสต์ศักราช)<ref>{{cite web|url=https://archive.org/details/livesnecromance04godwgoog|title=Lives of the Necromancers|author=William Godwin|date=1876|page=49}}</ref> [[วัฒนธรรม|วัฒนธรรมมนุษย์]]ได้มีพัฒนาการในมุมมองมากมายเกี่ยวกับโลก ประกอบด้วยการมี[[มานุษยรูปนิยม|มนุษยภาวะ]]ในฐานะที่เป็น[[เทวดา|เทพเจ้า]]แห่งดาวเคราะห์ การมีรูปร่างแบน มีตำแหน่งที่ตั้ง ณ [[ระบบโลกเป็นศูนย์กลาง|ศูนย์กลางของจักรวาล]] และสมมติฐานไกอาร่วมสมัยว่าเป็นรูปเอกมันต์ของชีวิตินทรีย์อันมีกฎเกณฑ์ความชอบธรรมตามวิถีแห่งตน
 
ลอร์ดเคลวินใช้[[อุณหพลศาสตร์]]คาดคะเนอายุของโลกไว้ระหว่าง 20 ถึง 400 ล้านปีในปี 1864 ทำให้เกิดการอภิปรายอย่างเข้มข้นในเรื่องนี้ จนเมื่อมีการค้นพบกัมมันตภาพรังสีและการวัดอายุจากกัมมันตรังสีในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ที่มีกลไกน่าเชื่อถือสำหรับการหาอายุของโลก พิสูจน์ว่าโลกมีอายุในหลักพันล้านปี มโนทัศน์ของโลกเปลี่ยนอีกครั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 20 เมื่อมนุษย์มองโลกครั้งแรกจากวงโคจร และโดยเฉพาะอย่างยิ่งโดยภาพถ่ายของโลกที่โครงการอะพอลโลส่งกลับมา
 
== เชิงอรรถ ==