ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชาวไทยเชื้อสายเขมร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
| image = [[ไฟล์:Phetcharat Ratchasuda.jpg|x100px]][[ไฟล์:Queen Suvadhana in Rama VI.jpg|x100px]][[ไฟล์:เจ้าพระยาอภัยภูเบศร (ชุ่ม อภัยวงศ์).gif|x100px]][[ไฟล์:ควง อภัยวงศ์ 2475.jpg|x100px|ควง อภัยวงศ์]][[ไฟล์:21711 002.jpg|x100px]][[ไฟล์:Nga Caravan.jpg|x100px]]
| caption = (จากซ้ายไปขวา) [[สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี]] , [[พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี]], [[เจ้าพระยาอภัยภูเบศร (ชุ่ม อภัยวงศ์)]], [[ควง อภัยวงศ์]], [[เนวิน ชิดชอบ]] และ [[สุรชัย จันทิมาธร]]
| poptime = ประมาณ 21.64 ล้านคน <small> (ประมาณการปี 25522551) </small>
| popplace = [[จังหวัดสุรินทร์]], [[จังหวัดบุรีรัมย์]], [[จังหวัดศรีสะเกษ]], [[จังหวัดนครราชสีมา]] [[จังหวัดอุบลราชธานี]] [[จังหวัดร้อยเอ็ด]] [[จังหวัดมหาสารคาม]], [[จังหวัดปราจีนบุรี]], [[จังหวัดตราด]], [[จังหวัดฉะเชิงเทรา]]<ref>[http://www.8riewculture.info/vdn/index.php?c=showitem&item=361 ชาวไทยเชื้อสายเขมร] สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดฉะเชิงเทรา</ref>, [[จังหวัดจันทบุรี]], [[จังหวัดสระแก้ว]] [[จังหวัดสุพรรณบุรี]] [[จังหวัดราชบุรี]]<ref name="ราชบุรี" />, [[จังหวัดพิจิตร]]<ref>[http://phichitculture.net/cd/index.php?c=showitem&item=388 ชาวไทยเชื้อสายเขมร] สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดพิจิตร</ref>, [[จังหวัดนครปฐม]] และ[[กรุงเทพมหานคร]] <br> {{flagicon|Thailand}} [[ประเทศไทย]]
| langs = [[ภาษาไทย]], [[ภาษาเขมรเหนือ]], [[ภาษาไทยถิ่นอีสาน]], [[ภาษาเขมร]] และ[[ภาษาเขมรลาวเดิม]]
บรรทัด 21:
 
== วัฒนธรรม ==
[[ไฟล์:khmerThaiWomen.jpg|thumb|220px|left|การแต่งกายแต่งกายของชาวไทยเชื้อสายเขมรซึ่งสวมเสื้อเก็บ นุ่งผ้ากระเนียว ผ้าโฮล ปะโบล ในงานประเพณีบุญบั้งไฟในเขต[[อำเภอขุขันธ์]] [[จังหวัดศรีสะเกษ]]]]
<gallery>
Example.jpg|คำอธิบายภาพ1
Example.jpg|คำอธิบายภาพ2
</gallery>
 
การแต่งกายของชาวไทยเขมรที่ถูกต้อง จะไม่มีการผสมผสานการแต่งกายแบบชาติพันธุ์ส่วยแต่อย่างใด การแต่งกายของชาวไทยเชื้อสายเขมรที่ถูกต้องสามารถเห็นได้ในจังหวัดสุรินทร์และบุรีรัมย์และนอกจากนี้ชาวไทยเชื้อสายเขมรดั้งเดิมจะไม่มีความเชื่อในเรื่องการจัดประเพณีบุญบั้งไฟอย่างที่ชาวไทยเชื้อสายเขมรในขุขันธ์ได้จัดขึ้น โดยปกติแล้วชาวไทยเชื้อสายเขมรดั้งเดิมที่อาศัยอยู่ในจังหวัดสุรินทร์และบุรีรัมย์ จะไม่มีการจัดประเพณีบุญบั้งไฟแต่อย่างใด เช่นเดียวกับชาติพันธุ์เขมรในกัมพูชา
 
===การแต่งกาย===
วัฒนธรรมการแต่งกายของชาวไทยเชื้อสายเขมรที่อีสานใต้นั้นมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว อันบ่งบอกถึงความเป็นท้องถิ่นเขมรอีสานใต้ได้อย่างน่าชื่นชม ไม่ว่าจะเป็นเสื้อ หรือผ้านุ่ง ก็ล้วนเป็นสิ่งที่แสดงถึงมรดกตกทอดมาตั้งแต่บรรพบุรุษ นับแต่สมัยโบราณกระทั่งกว่าร้อยปีหลังถึงปัจจุบัน การแต่งกายของชาวไทยเขมรได้เปลี่ยนแปลงไปไม่น้อย แต่ปัจจุบันลูกหลานที่หวงแหนในวัฒนธรรมการแต่งกายของคนเขมรได้รื้อฟื้นช่วยกันกลับมาสวมใส่แต่งกายกลับมาเป็นที่นิยมกันอย่างมากขึ้นในโอกาสงานบุญและงานประจำปีต่างๆ