ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรคพิษสุนัขบ้า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 69:
 
==การรักษา==
{| class="wikitable" style="float:right; clear:right;"
|+ การฉีดวัคซีนและ {{abbr|Ig|อิมมูโนโกลบูลิน}} ในผู้ป่วยสัมผัสโรคระดับ 3
|- style="vertical-align:bottom; letter-spacing:0.1ex;"
!rowspan=2| กรณี
!colspan=5 | วันที่
|-
!0
!3
!7
!14
!28
|-
| อิมมูโนโกลบูลิน ||✔|| || || ||
|-
| ฉีดวัคซีนใต้หนัง ||✔||✔||✔|| ||✔
|-
| ฉีดวัคซีนเข้ากล้าม ||✔||✔||✔||✔||✔
|-
| ฉีดวัคซีนกระตุ้นกรณีเข็มล่าสุด >6 เดือน ||✔||✔|| || ||
|-
| ฉีดวัคซีนกระตุ้นกรณีเข็มล่าสุด ≤6 เดือน ||✔|| || || ||
|}
 
การรักษาหลังการสัมผัสสามารถป้องกันโรคได้ เมื่อให้อย่างทันท่วงทีภายใน 10 วันหลังจากรับเชื้อ<ref name=Sherris/> การล้างแผลส่วนน้ำและสบู่อย่างหมดจดทันทีเมื่อรับเชื้อ (ภายใน 5 นาที) ก็มีส่วนช่วยในการลดจำนวนอนุภาคไวรัสได้<ref>{{cite web |url=http://www.health.vic.gov.au/ideas/bluebook/rabies_info |title=Rabies & Australian bat lyssavirus information sheet |publisher=Health.vic.gov.au |accessdate=2012-01-30 |deadurl=yes |archiveurl=https://web.archive.org/web/20110818081218/http://www.health.vic.gov.au/ideas/bluebook/rabies_info |archivedate=2011-08-18 |df= }}</ref> และยังสามารถลดจำนวนเชื้อได้อีกด้วยการใช้โพวิโดนไอโอดีนหรือแอลกอฮอล์ในการทำแผล<ref>{{cite web |author1=National Center for Disease Control |title=National Guidelines on Rabies Prophylaxis |url=http://nicd.nic.in/Rabies_guidelines2014.pdf |accessdate=5 September 2014 |format=pdf |year=2014 |deadurl=yes |archiveurl=https://web.archive.org/web/20140905235321/http://nicd.nic.in/Rabies_guidelines2014.pdf |archivedate=5 September 2014 |df= }}</ref>