ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกิพีเดีย:บทความแรกของคุณ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 103:
 
== สิ่งที่ต้องระมัดระวัง ==
; '''การคัดลอก อย่าละเมิดลิขสิทธิ์''' : อย่าคัดลอกและวางเนื้อหาเข้าสู่บทความวิกิพีเดีย ยกเว้นเป็นอัญพจน์สั้น ๆ อยู่ในเครื่องหมายอัญประกาศ และมีการอ้างอิงโดยใช้การอ้างอิงในบรรทัด แม้แต่เนื้อความที่เป็น[[สาธารณสมบัติ]]ก็ต้องระบุแหล่งที่มา มิฉะนั้นจะเป็น[[โจรกรรมทางวรรณกรรม]] เนื้อหาส่วนใหญ่บนเว็บมีลิขสิทธิ์ {{em|แม้ไม่มีข้อความสงวนลิขสิทธิ์ หรือสัญลักษณ์ ©}} ดูเพิ่มที่ [[วิกิพีเดีย:ลิขสิทธิ์]] และ [[วิกิพีเดีย:เขียนงานอย่างไรไม่ละเมิดลิขสิทธิ์]]
; '''การคัดลอก''' - '''อย่าละเมิดลิขสิทธิ์''' : เพื่อความปลอดภัย อย่าคัดลอกข้อความยาวกว่า 2-3 ประโยคจากแหล่งใดก็ตาม รวมทั้งระบุเอกสารอ้างอิงทั้งหมดที่คุณใช้ คุณสามารถคัดลอกได้เฉพาะแหล่งข้อมูลที่คุณ ''แน่ใจ'' ว่าเป็น'''[[สาธารณสมบัติ]]''' และแม้จะเป็นสาธารณสมบัติ ก็ยังควรอ้างอิงถึงแหล่งข้อมูลนั้น และระลึกว่าเนื้อหาในเว็บไซต์ส่วนใหญ่บนอินเทอร์เน็ต ''ไม่ใช่'' สาธารณสมบัติ รวมทั้งเนื้อร้องของเพลงส่วนใหญ่ด้วย อันที่จริง ทุกผลงานที่สร้างสรรค์ขึ้นตั้งแต่ พ.ศ. 2519 เป็นต้นมา ถือว่าอยู่ภายใต้[[ลิขสิทธิ์]]โดยอัตโนมัติ ''แม้ไม่มีข้อความสงวนลิขสิทธิ์ หรือสัญลักษณ์ © '' หากคุณคิดว่าสิ่งที่คุณเพิ่มเติมลงในวิกิพีเดียเป็นสาธารณสมบัติ ''ให้ระบุว่าคุณนำมาจากที่ใด'' ทั้งในบทความหรือในหน้าพูดคุย และให้เหตุผลในหน้าพูดคุยว่าเหตุใดคุณจึงคิดว่ามันเป็นสาธารณสมบัติ (เช่น "บทความนี้เผยแพร่ใน พ.ศ. 2438 ...") หากคุณคิดว่าเป็น "'''[[WP:FAIR|การใช้ลิขสิทธิ์ของผู้อื่นโดยชอบ]]'''" (fair use) กรุณาหมายเหตุไว้ในหน้าพูดคุยว่าเหตุใดจึงคิดเช่นนั้น สำหรับข้อมูลเพิ่มเติม ดู [[วิกิพีเดีย:ลิขสิทธิ์|ลิขสิทธิ์]]
 
; การค้นคว้าที่ดีและอ้างแหล่งข้อมูลของคุณ : บทความที่ปรากฏขึ้นอย่างทันทีทันใดอาจดีกว่าไม่มี แต่บทความเหล่านี้ยากที่จะพิสูจน์ยืนยันได้ ซึ่งเป็นส่วนสำคัญในการสร้างงานอ้างอิงที่น่าเชื่อถือ โปรดทำการค้นคว้ากับแหล่งข้อมูลดีที่สุดเท่าที่หาได้และอ้างอิงอย่างเหมาะสม เมื่อทำเช่นนี้ ตลอดจนไม่คัดลอกเนื้อหายาว จะช่วยหลีกเลี่ยงมิให้เกิดกรณี'''[[การโจรกรรมทางวรรณกรรม]]''' เรายินดีต้อนรับบทความสั้นที่เขียนดี ที่เรียกว่า "[[วิกิพีเดีย:โครง|โครง]]" ซึ่งสามารถใช้เป็นฐานซึ่งผู้ใช้คนอื่นสามารถพัฒนาต่อไปได้ หากคุณไม่มีข้อมูลเพียงพอจะเขียนโครงดี ๆ เป็นไปได้ว่าคุณไม่ควรสร้างบทความ ณ ท้ายบทความ คุณควรเพิ่ม "แม่แบบโครง" เช่นนี้: <nowiki>{{โครง}}</nowiki> (แต่จะเป็นการดีมากหากคุณเจาะจงประเภทด้วย เช่น <nowiki>{{โครงบุคคล}}</nowiki> โครงจะช่วยติดตามบทความที่ต้องการขยายความเพิ่มเติม
; บทความเกี่ยวกับบุคคลที่ยังมีชีวิตอยู่ : บทความที่เขียนเกี่ยวกับบุคคลที่ยังมีชีวิตอยู่ต้องมีแหล่งอ้างอิงเพื่อที่ตัวบุคคลจะได้สามารถพิสูจน์ยืนยัน ชีวประวัติของบุคคลที่ยังมีชีวิตอยู่ที่ขาดแหล่งอ้างอิงอาจถูกลบ