ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกิพีเดีย:บทความแรกของคุณ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 64:
 
== รวบรวมเอกสารอ้างอิง ==
{{Quote box
รวบรวมแหล่งข้อมูลสนับสนุนสารสนเทศในบทความของคุณ หัวเรื่องใดที่ควรค่าแก่การบรรจุรวมในสารานุกรมวิกิพีเดีย หัวเรื่องนั้นจะต้องมี[[WP:NOTE|ความโดดเด่น]]พอสมควร และความโดดเด่นนั้นจะต้อง[[WP:V|พิสูจน์ยืนยันได้]]ผ่าน[[WP:CITE|การอ้างอิง]]ไปยังแหล่งข้อมูลน่าเชื่อถือ
|width = 30%
|border = 1px
|align = right
|bgcolor =
|fontsize = 1em
|title_bg = #dddddd
|title_fnt =
|title = แหล่งข้อมูลที่ดี
|qalign = left
|quote =
# มีชื่อเสียงด้านความน่าเชื่อถือ<br>
# ไม่มีส่วนได้ส่วนเสียกับเรื่อง<br>
# ผู้ใช้อื่น[[WP:V|พิสูจน์ยืนยันได้]]
|salign =
|source =
}}
รวบรวมแหล่งข้อมูลสนับสนุนสารสนเทศในบทความของที่คุณจะเขียน หัวเรื่องใดที่ควรค่าแก่การบรรจุรวมมีอยู่ในสารานุกรมวิกิพีเดีย หัวเรื่องนั้นจะต้องมี[[WP:NOTE|ความโดดเด่น]]พอสมควร และความโดดเด่นนั้นจะต้อง[[WP:V|พิสูจน์ยืนยันได้]]ผ่าน[[WP:CITE|การอ้างอิง]]ไปยังแหล่งข้อมูลน่าเชื่อถือ
 
แหล่งข้อมูลเหล่านี้ต้องน่าเชื่อถือ หมายความว่า ต้องเป็นแหล่งข้อมูลที่มีการควบคุมบรรณาธิการบางรูปแบบ แหล่งข้อมูลตีพิมพ์ (และรุ่นของแหล่งข้อมูลเหล่านี้บนเว็บไซต์) มักเป็นแหล่งข้อมูลน่าเชื่อถือที่สุด แม้แหล่งข้อมูลเฉพาะบนเว็บหลายแห่งก็น่าเชื่อถือเช่นกัน บางตัวอย่างเช่น หนังสือที่ตีพิมพ์โดยสำนักพิมพ์หลัก หนังสือพิมพ์ นิตยสาร วารสารวิชาการที่มีชื่อเสียงด้านการกลั่นกรองตรวจสอบข้อเท็จจริงและความแม่นยำ เว็บไซต์ของสิ่งตีพิมพ์ข้างต้น บล็อกของผู้เชี่ยวชาญ และเว็บไซต์อื่นที่เข้าหลักเกณฑ์เช่นเดียวกับแหล่งข้อมูลตีพิมพ์ที่ได้มาตรฐาน
 
ด้วยเหตุข้างต้นบล็อก เว็บฟอรัม สื่อสังคมส่วนบุคคล เว็บแฟนคลับ เว็บไซต์ที่อนุญาตให้เขียนโฆษณาตนเอง ฯลฯ จึงไม่น่าเชื่อถือ เพราะใคร ๆ ก็เข้าไปแก้ไขสารสนเทศได้โดยไม่มีคนตรวจสอบ
โดยทั่วไป แหล่งข้อมูลที่ไม่มีการควบคุมบรรณาธิการนั้นไม่น่าเชื่อถือ ซึ่งรวมไปถึงหนังสือที่ตีพิมพ์โดยสื่อไร้สาระ หนังสือ บล็อก เว็บฟอรัม การอภิปรายยูสเน็ต (usenet) [[กระดานข่าวอิเล็กทรอนิกส์]] (BBS) หรือแฟนไซต์ที่เขียนขึ้นเอง ตลอดจนเว็บไซต์ไร้สาระที่อนุญาตให้สร้างบทความโฆษณาตนเองได้ หรือแหล่งพบปะชุมนุมกันอื่น หากผู้ใดก็ตามสามารถโพสต์ข้อมูลโดยไม่มีใครอื่นคอยตรวจสอบข้อมูลนั้น ก็อาจไม่น่าเชื่อถือได้
 
กล่าวง่าย ๆ คือ หากว่าถ้ามีแหล่งข้อมูลน่าเชื่อถือ (เช่น หนังสือพิมพ์ วารสารหรือหนังสือ) โดยที่มีข้อมูลสารสนเทศอย่างกว้างขวางได้รับการตีจัดพิมพ์เป็นช่วงเวลาค่อนข้างยาวนานเกี่ยวกับหัวเรื่องนั้น เรื่องใดเรื่องหนึ่งนานพอสมควรแล้วหัวเรื่อง เรื่องนั้นก็มีความโดดเด่น และคุณจะต้องอ้างอ้างอิงแหล่งข้อมูลเหล่านั้นเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเช่นว่าเมื่อสร้างหรือขยายบทความวิกิพีเดีย หากคุณไม่อาจหาแหล่งข้อมูลน่าเชื่อถือได้ที่ให้ข้อมูลอันกว้างขวางและเข้าใจได้เกี่ยวกับหัวเรื่องที่คุณเสนอ แล้วหัวเรื่องนั้นก็จะไม่มีความโดดเด่นหรือพิสูจน์ยืนยันได้ และแทบแน่นอนว่าจะต้องถูกลบด้วย ดังนั้น งานแรกของคุณคือ'''การหาเอกสารอ้างอิงคุณต้องหาแหล่งข้อมูลพวกนี้'''
 
เมื่อคุณมีเอกสารอ้างอิงบทความของคุณแล้วความชำนาญมากขึ้น คุณสามารถอาจศึกษารูปแบบการจัดวางเอกสารใส่อ้างอิงนั้นในบทความโดยอ่านที่ถูกต้องได้ทาง [[วิกิพีเดีย:การอ้างอิงแหล่งที่มา]] แต่ในตอนนี้ยังไม่ต้องกังวลมากเกินไปในการจัดรูปแบบเรื่องผิดถูก ขอให้เรียบร้อย เพราะแม้จะเป็นการดีหากคุณทำเช่นนั้น แต่ประเด็นหลักคือ '''การใส่เอกสารมีแหล่งอ้างอิงในบทความ'''โดยไม่จำเป็นต้องสนใจว่ามันจะจัดรูปแบบดีหรือไม่ก่อน
 
== หัวเรื่องบทความที่ควรหลีกเลี่ยง ==