ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกิพีเดีย:บทความแรกของคุณ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
<center><big>หากคุณต้องการทดลองเขียนบทความ โปรดใช้ [[วิกิพีเดีย:ทดลองเขียน|หน้าทดลองเขียน]]หรือ[[วิกิพีเดีย:หน้าผู้ใช้|หน้าผู้ใช้ของคุณ]]''</big></center>
 
{{nutshell|บทความวิกิพีเดียยึดแนวปฏิบัติบางอย่าง หัวข้อที่เขียนควร[[WP:NOTE|มีความโดดเด่น]]และมี[[WP:RS|การอ้างอิงที่ดี]]จากแหล่งข้อมูลไม่มีส่วนได้เสียกล่าวถึงในรายละเอียด วิกิพีเดียเป็น[[สารานุกรม]] คือ [[WP:NOT|ไม่ใช่ที่เขียนเรื่องส่วนบุคคลหรือรายการธุรกิจ]] อย่าใช้เนื้อหาจากเว็บไซต์อื่นแม้ว่าคุณ เจ้านายหรือสถานที่ทำงานของคุณเป็นเจ้าของ หากคุณเลือกสร้างบทความโดยมีความเข้าใจมาตรฐานที่นี่จำกัด คุณควรตระหนักว่าผู้เขียนอื่นอาจลบหน้าหากพิจารณาแล้วว่าไม่เหมาะสม ในการสร้างบทความ คุณสามารถลองใช้ '''[[วิกิพีเดีย:วิซาร์ดบทความ|วิซาร์ดบทความ]]'''}}
 
'''ยินดีต้อนรับสู่วิกิพีเดีย!''' คุณอาจเคยแก้ไขบล็อกหรือสื่อสังคมมาแล้ว และคุณอาจเคยแก้ไขบทความอื่นของเรามาบ้างแล้ว แต่ตอนนี้คุณต้องการเริ่มบทความใหม่ในวิกิพีเดียจากศูนย์
'''ยินดีต้อนรับสู่วิกิพีเดีย!''' หน้านี้มีความมุ่งหมายชี้แนะสิ่งสำคัญที่คุณควรทราบก่อนสร้างบทความสารานุกรมแรกของคุณ ก่อนที่จะบอกขั้นตอนในการสร้างบทความให้กับคุณ ด้านล่างนี้เป็นข้อแนะนำเล็ก ๆ น้อย ๆ ที่จะช่วยคุณในการเขียน
 
== บทนำ ==
แรกสุด กรุณาเข้าใจว่าวิกิพีเดียเป็น'''สารานุกรม''' และพันธกิจของเราคือแบ่งปันความรู้ซึ่งเป็นที่ยอมรับเพื่อให้เป็นประโยชน์แก่ผู้ใฝ่ศึกษา
 
เราจะหา "ความรู้ซึ่งเป็นที่ยอมรับ" ได้จากแหล่งข้อมูลจัดพิมพ์คุณภาพสูง เรากำลังหมายถึงสำนักพิมพ์ที่มีชื่อเสียง หนังสือพิมพ์คุณภาพสูง หรือการทบทวนวรรณกรรมในวารสารวิทยาศาสตร์ อะไรที่คุณจำมาจากที่อื่นแต่ไม่มีหลักฐาน เราขอปฏิเสธ
 
เรามีข้อแนะนำที่จะช่วยคุณเรื่องบทความแรก:
* ลองแก้ไขบทความอื่นดูก่อน เพื่อทำความเข้าใจคร่าว ๆ
* [[วิกิพีเดีย:ทำไมจึงควรสร้างบัญชีผู้ใช้?|ลงทะเบียนบัญชี]]ก่อน คุณแค่เลือกชื่อผู้ใช้กับรหัสผ่านเท่านั้น
* ค้นหาวิกิพีเดียดูก่อนว่าไม่มีบทความอยู่ก่อนแล้ว ซึ่งบางทีอาจใช้คนละชื่อกับที่คุณคาดไว้
 
<div style="border: 2px solid #fc0; width:70%; background: #fe9; margin:0; padding: 1em; text-align:center">
<div style="border: 2px solid #fd6; background: #fff; margin:1em 1ex 1ex 1ex; padding: 1em; text-align:center">
{| cellpadding="8" cellspacing="0" border="0"
| align="right" |'''''ยังไม่มีบทความนี้เป็นเรื่องใหม่?'''''<br/><small>พิมพ์ชื่อ แล้วคลิก "ไป (ลองชื่อเรื่อง)"</small>
| align="left" |
<inputbox>
type=search
width=45
buttonlabel= ไป (ลองชื่อเรื่อง)
searchbuttonlabel= ค้นหา*
</inputbox>
<small>* ค้นหาชื่อที่ใกล้เคียง</small>
|}
</div>
</div>
 
อาจมีหรือไม่มีบทความในชื่อเดียวกับที่คุณต้องการจะเขียน
 
การที่ไม่มีบทความชื่อเดียวกัน ไม่จำเป็นต้องหมายความว่า ไม่มีบทความอยู่ ดังที่ได้กล่าวไว้ข้างต้น การค้นหาช่วยได้
 
=== การจัดการบทความที่ชื่อซ้ำกัน ===
{{บทความหลัก|วิกิพีเดีย:การแก้ความกำกวม}}
บางครั้งมีบทความในชื่อที่เขียนเลือกแล้ว แต่เป็นหัวข้อที่ต่างออกไป ในกรณีนี้ หัวเรื่องจะต้องแยกออกจากกัน กระบวนการแยกชื่อที่เหมือนหรือคล้ายกันออกจากกันซึ่งความหมายแตกต่างกันชัดเจนนั้น เรียกว่า "การแก้ความกำกวม" มือใหม่อาจสับสน ถ้าจำเป็น สร้างหน้าของคุณเป็นร่างในหน้าผู้ใช้ จากนั้นถามที่[[วิกิพีเดีย:เลขาชาววิกิพีเดีย|เลขาชาววิกิพีเดีย]] ให้ช่วยเหลือในการแก้ไขความกำกวม
 
มีสามหนทางหลักในการแก้ความกำกวม ขึ้นอยู่กับมีหัวข้อมากเท่าใดและมีอย่างใดสำคัญมากกว่าที่เหลือมาก
* '''หน้าแก้ความกำกวม''' ตัวอย่างเช่น เมื่อคุณพิมพ์คำว่า "ซัลซา" คุณจะถูกนำไปยังหน้าแก้ความกำกวมซึ่งมีหัวเรื่องทั้งหมดที่ชื่อว่า "ซัลซา" รวมทั้ง [[ซัลซา (ซอส)]], [[ซัลซา (แนวดนตรี)]] และความหมายอื่นอีกมากที่มีคำว่า ซัลซา
* '''การใช้หลัก''' ในบางกรณี ชื่อโดยตัวของมันเองจะใช้เป็นชื่อความหมายที่ใช้กันมากที่สุดของคำนั้น ("การใช้หลัก") และการใช้อย่างอื่นทั้งหมดจะพบในหน้าแก้ความกำกวม ตัวอย่างเช่น เมื่อคุณพิมพ์คำว่า "ไทย" คุณจะถูกนำไปยังบทความเกี่ยวกับ[[ประเทศไทย]] ส่วนการใช้อย่างอื่น เช่น [[ชาวไทย]] ทำรายการไว้ในหน้าแก้ความกำกวม
* '''เพียงสองหัวข้อ''' ในบางกรณี ถ้าหัวข้อนั้นมีเพียงสองความหมาย ชื่อเรื่องเพียงอย่างเดียวควรใช้สำหรับความหมายหนึ่ง ซึ่งเป็นความหมายทั่วไปกว่า และมีข้อความไว้บนสุดของหน้านั้น จะถูกใช้เพื่อนำผู้อ่านไปยังอีกบทความหนึ่ง ตัวอย่างเช่น ถ้าคุณพิมพ์คำว่า "กรุงเทพมหานคร" คุณจะถูกนำไปยังบทความเกี่ยวกับเมืองหลวงของประเทศไทย และจะมีลิงก์นำคุณไปยัง[[กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)|กรุงเทพมหานคร]] ที่เป็นองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
 
== ค้นหาบทความที่มีอยู่แล้ว ==
เส้น 44 ⟶ 84:
 
:อาจจะดู [[วิกิพีเดีย:ข้อผิดพลาดที่พบบ่อย|ข้อผิดพลาดในวิกิพีเดียที่ถูกพบบ่อย]] และ [[วิกิพีเดีย:อะไรที่ไม่ใช่วิกิพีเดีย|สิ่งที่ไม่ต้องการให้อยู่ในวิกิพีเดีย]]
 
== วิธีสร้างบทความใหม่ ==
{{บทความหลัก|วิธีใช้:สร้างบทความใหม่}}
ทั้งผู้ใช้ล็อกอินและไม่ล็อกอินต่างก็สามารถสร้างบทความได้ แต่คุณยังสามารถเสนอให้เขียนบทความได้ใน [[วิกิพีเดีย:บทความที่ต้องการ]]
 
=== ชื่อเรื่องสำหรับบทความใหม่ของคุณ ===
ในกล่องค้นหาด้านล่าง พิมพ์ชื่อบทความของคุณ แล้วคลิก "ไป" หากหน้าค้นหารายงานว่า "คุณอาจสร้างหน้านี้ได้" ตามด้วยชื่อบทความสีแดง แล้วคุณสามารถคลิกชื่อบทความสีแดงและเริ่มต้นแก้ไขบทความได้
 
<div style="border: 2px solid #fc0; width:70%; background: #fe9; margin:0; padding: 1em; text-align:center">
<div style="border: 2px solid #fd6; background: #fff; margin:1em 1ex 1ex 1ex; padding: 1em; text-align:center">
{| cellpadding="8" cellspacing="0" border="0"
| align="right" |'''''ยังไม่มีบทความนี้?'''''<br/><small>พิมพ์ชื่อ แล้วคลิก "ไป (ลองชื่อเรื่อง)"</small>
| align="left" |
<inputbox>
type=search
width=45
buttonlabel= ไป (ลองชื่อเรื่อง)
searchbuttonlabel= ค้นหา*
</inputbox>
<small>* ค้นหาชื่อที่ใกล้เคียง</small>
|}
</div>
</div>
 
อาจมีหรือไม่มีบทความในชื่อเดียวกับที่คุณต้องการจะเขียน
 
การที่ไม่มีบทความชื่อเดียวกัน ไม่จำเป็นต้องหมายความว่า ไม่มีบทความอยู่ ดังที่ได้กล่าวไว้ข้างต้น การค้นหาช่วยได้
 
=== การจัดการบทความที่ชื่อซ้ำกัน ===
{{บทความหลัก|วิกิพีเดีย:การแก้ความกำกวม}}
บางครั้งมีบทความในชื่อที่เขียนเลือกแล้ว แต่เป็นหัวข้อที่ต่างออกไป ในกรณีนี้ หัวเรื่องจะต้องแยกออกจากกัน กระบวนการแยกชื่อที่เหมือนหรือคล้ายกันออกจากกันซึ่งความหมายแตกต่างกันชัดเจนนั้น เรียกว่า "การแก้ความกำกวม" มือใหม่อาจสับสน ถ้าจำเป็น สร้างหน้าของคุณเป็นร่างในหน้าผู้ใช้ จากนั้นถามที่[[วิกิพีเดีย:เลขาชาววิกิพีเดีย|เลขาชาววิกิพีเดีย]] ให้ช่วยเหลือในการแก้ไขความกำกวม
 
มีสามหนทางหลักในการแก้ความกำกวม ขึ้นอยู่กับมีหัวข้อมากเท่าใดและมีอย่างใดสำคัญมากกว่าที่เหลือมาก
* '''หน้าแก้ความกำกวม''' ตัวอย่างเช่น เมื่อคุณพิมพ์คำว่า "ซัลซา" คุณจะถูกนำไปยังหน้าแก้ความกำกวมซึ่งมีหัวเรื่องทั้งหมดที่ชื่อว่า "ซัลซา" รวมทั้ง [[ซัลซา (ซอส)]], [[ซัลซา (แนวดนตรี)]] และความหมายอื่นอีกมากที่มีคำว่า ซัลซา
* '''การใช้หลัก''' ในบางกรณี ชื่อโดยตัวของมันเองจะใช้เป็นชื่อความหมายที่ใช้กันมากที่สุดของคำนั้น ("การใช้หลัก") และการใช้อย่างอื่นทั้งหมดจะพบในหน้าแก้ความกำกวม ตัวอย่างเช่น เมื่อคุณพิมพ์คำว่า "ไทย" คุณจะถูกนำไปยังบทความเกี่ยวกับ[[ประเทศไทย]] ส่วนการใช้อย่างอื่น เช่น [[ชาวไทย]] ทำรายการไว้ในหน้าแก้ความกำกวม
* '''เพียงสองหัวข้อ''' ในบางกรณี ถ้าหัวข้อนั้นมีเพียงสองความหมาย ชื่อเรื่องเพียงอย่างเดียวควรใช้สำหรับความหมายหนึ่ง ซึ่งเป็นความหมายทั่วไปกว่า และมีข้อความไว้บนสุดของหน้านั้น จะถูกใช้เพื่อนำผู้อ่านไปยังอีกบทความหนึ่ง ตัวอย่างเช่น ถ้าคุณพิมพ์คำว่า "กรุงเทพมหานคร" คุณจะถูกนำไปยังบทความเกี่ยวกับเมืองหลวงของประเทศไทย และจะมีลิงก์นำคุณไปยัง[[กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)|กรุงเทพมหานคร]] ที่เป็นองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
 
=== ใส่แหล่งอ้างอิง ===
สิ่งแรก ๆ ที่คุณควรเขียนในบทความของคุณ คือ รายการแหล่งข้อมูลสำหรับสารสนเทศของคุณ สำหรับตอนนี้ แค่ใส่ลิงก์แบบด้านล่างนี้ (ซึ่งจะเปลี่ยนเป็นลิงก์โดยอัตโนมัติ):
: (1) http://www.nytimes.com/2007/04/12/books/12vonnegut.html
: (2) http://www-03.ibm.com/ibm/history/exhibits/space/space_shuttle.html
 
ภายหลัง คุณจะเรียนรู้วิธีการจัดรูปแบบให้ปรากฏเป็นเชิงอรรถ
 
จะเป็นการดีกว่าหากคุณยังไม่คล่อง ในการสร้างบทความของคุณในหน้าย่อยของหน้าผู้ใช้คุณ ที่ซึ่งคุณสามารถใช้เวลานานได้เท่าที่ต้องการในการทำให้มันเป็นบทความที่ดี จากนั้นค่อยย้ายไปลงในสเปซบทความหลัก คุณสามารถสร้างหน้าทดลองเขียน ("กระบะทราย") ส่วนตัวเพื่อพัฒนาบทความโดยคลิก'''[[Special:MyPage/ทดลองเขียน|ลิงก์นี้]]''' อย่างไรก็ดี แม้ในบทความสเปซผู้ใช้ หัวข้อที่ไม่อาจยอมรับได้ก็อาจถูกเสนอให้ลบได้
 
=== จัดหมวดหมู่ ===
ทุกบทความควรจัดอยู่ในหมวดหมู่ใดหมวดหมู่หนึ่งในวิกิพีเดีย ในการค้นหาหมวดหมู่สำหรับบทความของคุณ ไปที่ [[:หมวดหมู่:มูลฐาน]] และคลิกหมวดหมู่ย่อยที่เกี่ยวข้อง จากนั้นตามลิงก์หมวดหมู่ย่อยที่เกี่ยวข้องไปเรื่อย ๆ ให้ไกลที่สุดเท่าที่จะทำได้ ตามลำดับหมวดหมู่ย่อยที่เกี่ยวข้องทั้งหมด และเพิ่มการประกาศหมวดหมู่ โดยเขียน <tt><nowiki>[[หมวดหมู่:ชื่อหมวดหมู่]]</nowiki></tt> ที่ท้ายบทความของคุณสำหรับแต่ละหมวดหมู่ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งไม่มีหมวดหมู่ย่อยที่เกี่ยวข้องของมันเอง
=== ขั้นสุดท้าย ===
หลังจากคุณเสร็จสิ้นแล้ว คลิก ดูตัวอย่าง เพื่อตรวจสอบข้อผิดพลาด จากนั้นคลิก บันทึก
 
== หลังสร้างบทความ ==