ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระอัครชายา (หยก)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6:
| วันประสูติ =
| สถานที่ประสูติ = [[กรุงศรีอยุธยา]]
| วันสวรรคต = ราว พ.ศ. 2286 - 2288{{ต้องการอ้างอิงตรงนี้}}
| พระอิสริยยศ =
| พระราชบิดา =
บรรทัด 23:
}}
 
'''พระอัครชายา'''<ref name="ราชสกุลวงศ์">{{cite webbook | author = กรมศิลปากร. สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ | title = ราชสกุลวงศ์ | url = http://bcnnon.ac.th/webnon/Load/2013/01/king22.pdf|title= ราชสกุลวงศ์|author=|date=|work= |publisher =กรมศิลปากร, สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร |accessdate location =24 กุมภาพันธ์กรุงเทพฯ | year = 2554 | page = 25571}}</ref> มีพระนามว่า '''หยก''' บ้างออกพระนามว่าหรือ '''ดาวเรือง'''<ref name="ราชสกุลวงศ์"/> เป็นพระอัครชายาใน[[สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก]] และเป็นพระบรมราชชนนีใน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]]
 
== พระประวัติ ==
พระอัครชายา (หยก หรือ ดาวเรือง) ประสูติที่บ้านภายในกำแพงพระนคร ด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้ บริเวณป้อมเพชร ซึ่งเป็นย่านอาศัยของชาวจีน ทรงเป็นธิดาคนโตซึ่งเป็นคหบดีชาวจีนฮกเกี้ยน<ref>กิตติพงษ์ วิโรจน์ธรรมากูร, ย้อนรอยราชสกุลวงศ์ วังหลวง, ดอกหญ้า, 2549, ISBN 974-941-205-2</ref> พระองค์ยังเป็นหลานสาวของเจ้าพระยาอภัยราชาสมุหนายก<ref>ศรีรัญจวน, พิศวาสราชสำนัก [http://www.dailynews.co.th/Content/Article/119111/%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88+14+%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%88%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%AA ตอนที่ 14 รักที่จงรักของสมเด็จพระเอกาทศรถ] วันจันทร์ 5 พฤศจิกายน 2555 เวลา 09:05 น.</ref> พระองค์มีพระขนิษฐานามว่า กู่{{ต้องการอ้างอิงตรงนี้}}
=== พื้นเพ ===
พระอัครชายา มีพระนามเดิมว่า ดาวเรือง<ref name="ราชสกุลวงศ์"/><ref name="นิธิ>นิธิ เอียวศรีวงศ์. ''การเมืองไทยสมัยพระเจ้าตาก''. พิมพ์ครั้งที่ 12. กรุงเทพฯ : มติชน, 2559, หน้า 406</ref> หรือ หยก<ref>ส. ศิวลักษณ์. ''รากงอกก่อนตาย''. กรุงเทพฯ : สยามปริทัศน์, 2555, หน้า 196</ref> เป็นธิดาคนโตของคหบดีชาวจีนฮกเกี้ยน<ref>กิตติพงษ์ วิโรจน์ธรรมากูร. ''ย้อนรอยราชสกุลวงศ์ วังหลวง''. กรุงเทพฯ : ดอกหญ้า, 2549, ISBN 974-941-205-2</ref> ครอบครัวของพระองค์เป็นตระกูลสูงและมีฐานะทางเศรษฐกิจดี<ref name="นิธิ"/> ซึ่งบ้านเดิมของพระองค์ตั้งอยู่ภายในกำแพงพระนครด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้ของ[[เกาะเมือง]] บริเวณ[[ป้อมเพชร]]ก็เป็นย่านอาศัยของชาวจีนฮกเกี้ยนที่มีฐานะดี<ref name= "ประชาไท">{{cite web |url= https://prachatai.com/journal/2014/04/52637 |title= เคารพและเข้าใจประวัติศาสตร์อโยธยา-อยุธยา หยุดรื้อสุสานจีนที่วัดพนัญเชิง |author= กำพล จำปาพันธ์ |date= 9 เมษายน 2557 |work= ประชาไท |publisher=|accessdate= 22 มีนาคม 2560 }}</ref> พระองค์มีพระขนิษฐาคนหนึ่งซึ่งเป็นบาทบริจาริกาใน[[สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก]]ด้วย<ref>{{cite book | author = กรมศิลปากร. สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ | title = ราชสกุลวงศ์ | url = http://bcnnon.ac.th/webnon/Load/2013/01/king22.pdf | publisher = สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร | location = กรุงเทพฯ | year = 2554 | page = 8}}</ref> นอกจากนี้บางแห่งก็ว่าพระองค์เป็นหลานสาวของเจ้าพระยาอภัยราชาสมุหนายก<ref>ศรีรัญจวน, พิศวาสราชสำนัก [http://www.dailynews.co.th/Content/Article/119111/%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88+14+%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%88%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%AA ตอนที่ 14 รักที่จงรักของสมเด็จพระเอกาทศรถ] วันจันทร์ 5 พฤศจิกายน 2555 เวลา 09:05 น.</ref>
 
=== เสกสมรส ===
พระองค์ได้สมรสกับนายทองดี (ต่อมาคือ [[สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก]])บุตรคนโตของ[[พระยาราชนิกูล (ทองคำ)]] ภายหลังการประสูติของพระราชโอรสพระองค์เล็ก[[สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท]] พระองค์ได้ทรงประชวรและเสด็จสวรรคต [[สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก]]จึงได้เสกสมรสใหม่กับ กู่ พระน้องนางของพระองค์
พระองค์เสกสมรสกับทองดี (ต่อมาคือ[[สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก]]) บุตรคนโตของ[[พระยาราชนิกูล (ทองคำ)]] และย้ายเข้าไปพำนักในเคหาสน์ของพระอัครชายา ซึ่งนิธิ เอียวศรีวงศ์ให้ความเห็นว่าทั้งสองต้องมีฐานะที่ดีเสมอกัน<ref name="นิธิ"/> ดังปรากฏใน ''หนังสืออภินิหารบรรพบุรุษ'' ความว่า<ref name= "มติชน">{{cite web |url= http://www.matichon.co.th/news/96780 |title= สำรวจ”อยุธยา” ป้อมเพชร-วัดสุวรรณฯ “บ้านเดิม”รัชกาลที่ 1 |author= |date= 6 เมษายน 2559 |work= มติชนรายวัน |publisher=|accessdate= 19 มีนาคม 2560 }}</ref>
 
<blockquote> "...สมเด็จพระบรมมหาไปยกาธิบดี ท่านได้ทำการวิวาหมงคล กับสมเด็จพระบรมมหาไปยิกาธิบดีซึ่งทรงพระนามว่าดาวเรือง เปนบุตรีท่านเสนาบดีในกรุงศรีอยุธยา สมเด็จพระบรมมหาไปยกาธิบดีท่านได้เสด็จมาอยูที่นิวาศน์สฐานของสมเด็จพระบรมมหาไปยิกาธิบดี ณ ภายในกำแพงพระนครหลังป้อมเพ็ชร์..."</blockquote>
== พระโอรส-ธิดา ==
พระอัครชายา มีพระโอรส-ธิดา กับ [[สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก]] 5 พระองค์ คือ
* [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าสา กรมพระยาเทพสุดาวดี]] พระนามเดิม ''สา''
* [[สมเด็จพระเจ้าขุนรามณรงค์]] เคยมีบรรดาศักดิ์เป็น ขุนรามณรงค์ ไม่ปรากฏพระนามเดิม<ref name="ราชสกุลวงศ์"/>
* [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าแก้ว กรมพระศรีสุดารักษ์]] พระนามเดิม ''แก้ว''
* [[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]] (รัชกาลที่1)พระนามเดิม ''ทองด้วง''
* [[สมเด็จพระบวรราชเจ้า กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท]] พระนามเดิม ''บุญมา''
 
ตามพระราชหัตถเลขาของ[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงระบุไว้เพียงว่าพื้นที่นิวาสถานเดิมของพระอัครชายาอยู่บริเวณ[[วัดสุวรรณดาราราม]]ไปจนถึงป้อมเพชรและ[[คลองในไก่]]<ref name= "มติชน"/><ref>{{cite web |url= http://www.matichon.co.th/news/98587 |title= วัดสุวรรณดาราราม อยุธยา ย่านเคหสถานเดิม ร.1 |author= สุจิตต์ วงษ์เทศ |date= 7 เมษายน 2559 |work= มติชนออนไลน์ |publisher=|accessdate= 19 มีนาคม 2560 }}</ref><ref>{{cite web |url= http://www.matichon.co.th/news/97684 |title= จาก ป้อมเพชร ถึง วัดระฆังฯ “นิวาสสถานเดิม” รัชกาลที่ 1 |author= พรรณราย เรือนอินทร์ |date= 7 เมษายน 2559 |work= มติชนออนไลน์ |publisher=|accessdate= 19 มีนาคม 2560 }}</ref> แต่ภายหลังสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนกและพระอัครชายาได้ร่วมกันสร้างวัดทอง ที่ต่อมาใช้ชื่อ[[วัดสุวรรณดาราราม]] ซึ่งนามของวัดสื่อถึงพระนามของทั้งสองพระองค์คือ "ทองดี+ดาวเรือง"<ref name="นิธิ"/>
หมายเหตุ สมเด็จพระเจ้ารามณรงค์ เมื่อครั้งกรุงศรีอยุธยายังไม่แตก พระองค์มีพระธิดาพระองค์หนึ่งคือ พระองค์เจ้ากรมขุนรามินทรสุดา จึงได้สิ้นพระชนม์
 
สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนกและพระอัครชายา มีพระราชโอรส-ธิดาด้วยกัน 5 พระองค์ ได้แก่
*# [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าสา กรมพระยาเทพสุดาวดี]] (2272–2342) เสกสมรสกับ[[พระนามเดิมอินทรรักษา ''สา''(เสม)]] มีพระโอรส-ธิดา 4 พระองค์
# [[สมเด็จพระเจ้าขุนรามณรงค์]] มีพระธิดาเพียงพระองค์เดียว<ref name="สกุลไทย">{{cite web |url=http://www.watsamphan.com/datawat/my08_builder/01_buider_skulthai.html|title= พระสัมพันธวงศ์เธอ|author=จุลลดา ภักดีภูมินทร์|date=13 มีนาคม 2544|work= |publisher=สกุลไทย|accessdate=24 กุมภาพันธ์ 2557}}</ref><ref>องค์ บรรจุน. ''สยามหลากเผ่าหลายพันธุ์.'' กรุงเทพฯ : มติชน, 2553, หน้า 189-190</ref>
*# [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าแก้ว กรมพระศรีสุดารักษ์]] (2277–2342) เสกสมรสกับ[[เงิน แซ่ตัน]] มีพระนามเดิมโอรส-ธิดา ''แก้ว''6 พระองค์
# [[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]] (2279–2352) มีพระอัครมเหสีคือ[[สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี]] มีพระราชโอรส-ธิดา 42 พระองค์<ref>{{cite book | author = กรมศิลปากร. สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ | title = ราชสกุลวงศ์ | url = http://bcnnon.ac.th/webnon/Load/2013/01/king22.pdf | publisher = สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร | location = กรุงเทพฯ | year = 2554 | page = 19}}</ref>
# [[สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท]] (2286–2346) มีพระราชโอรส-ธิดา 43 พระองค์<ref>{{cite book | author = กรมศิลปากร. สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ | title = ราชสกุลวงศ์ | url = http://bcnnon.ac.th/webnon/Load/2013/01/king22.pdf | publisher = สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร | location = กรุงเทพฯ | year = 2554 | page = 115}}</ref>
 
พระอัครชายาสิ้นพระชนม์เมื่อใด ไม่เป็นที่ปรากฏ
 
== พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมอัฐิ ==
เส้น 44 ⟶ 50:
พระเมรุมาศก่อสร้างแล้วเสร็จใน [[พ.ศ. 2339]] ได้มีพิธีแห่[[พระบรมอัฐิ]]ออกสู่พระเมรุ มีมหรสพสมโภชเป็นเวลา 7 วัน เมื่อเสร็จพระราชพิธีถวายพระเพลิงแล้วได้อัญเชิญพระบรมอัฐิ กลับมาประดิษฐาน ณ [[หอพระธาตุมณเฑียร]] ใน[[พระบรมมหาราชวัง]] และในพระราชพิธีพระราชกุศลกาลานุกาลและพระราชพิธีสงกรานต์ พระสงฆ์จากวัดอัมพวันเจติยาราม จะรับหน้าที่สดับปกรณ์ผ้าคู่ประจำพระบรมอัฐิสมเด็จพระปฐมบรมอัยยิกาเธอ
 
{{รายการ== อ้างอิง}} ==
== ข้อถกเถียงพระอิสริยยศ ==
{{รายการอ้างอิง|2}}
สำหรับพระอิสริยยศของสมเด็จพระราชชนนีใน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]]นั้น ไม่มีปรากฎแน่ชัดว่าในรัชกาลที่ 1 สถาปนาพระราชชนนีไว้ว่าเช่นใด ตามความเข้าใจเลยออกพระนามเป็นพระอัครชายาเธอในสมเด็จพระชนกาธิบดี<ref name="เวียงวัง">{{อ้างหนังสือ
| ผู้แต่ง = จุลลดา ภักดีภูมินทร์ (หม่อมหลวงศรีฟ้า ลดาวัลย์ มหาวรรณ)
| ชื่อหนังสือ = เวียงวัง เล่ม ๑
| URL =
| จังหวัด = กรุงเทพ
| พิมพ์ที่ = สำนักพิมพ์เพื่อนดี บริษัท อักษรโสภณ จำกัด
| ปี = พิมพ์ครั้งที่ 2 มีนาคม 2551
| ISBN = 978-974-253-061-7
| หน้า = หน้าที่ 60
| จำนวนหน้า = 300
}}
</ref>
ต่อมาปรากฎการออกพระนามในเรื่อง พระราชพิธีสิบสองเดือน พระราชนิพนธ์ใน[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ระบุไว้ในพระราชพิธีพระราชกุศลกาลานุกาล ออกพระนามพระอัฐิพระราชชนนีในรัชกาลที่ 1 ว่า '''สมเด็จพระปฐมบรมอัยยิกาเธอ'''<ref name="พระราชพิธีสิบสองเดือน">{{อ้างหนังสือ
| ผู้แต่ง = พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
| ชื่อหนังสือ = พระราชพิธีสิบสองเดือน
| URL =
| จังหวัด = กรุงเทพ
| พิมพ์ที่ = สำนักพิมพ์แสงดาว จำกัด
| ปี = 2556
| ISBN = 978-616-508-674-5
| หน้า = หน้าที่ 77
| จำนวนหน้า = 592
}}
</ref>
มีพระอิสริยยศเป็นรองจากสมเด็จพระอัครมเหสี ซึ่งน่าจะออกพระนามเช่นนี้มาตั้งแต่รัชกาลที่ 4 พร้อมกับการออกพระนามสมเด็จพระปฐมบรมอัยกาธิบดี (ในต้นรัชกาลที่ 4 ยังไม่นับถึงชั้นทวด ทำให้คำราชาศัพท์สุดสิ้นที่ ชั้นปู่,ย่า เท่านั้น) นอกจากนี้ในสมัยรัชกาลที่ 5 คำราชาศัพท์ไม่มีคำว่า เทียด และคำว่า ทวดผู้หญิง ก็ไม่มีปรากฎพระราชนิยมใช้ในสมัยนั้น (คำว่าพระปัยยิกา เพิ่งมีระบุชัดในรัชกาลที่ 6) <ref name="เวียงวัง">{{อ้างหนังสือ
| ผู้แต่ง = จุลลดา ภักดีภูมินทร์ (หม่อมหลวงศรีฟ้า ลดาวัลย์ มหาวรรณ)
| ชื่อหนังสือ = เวียงวัง เล่ม 2
| URL =
| จังหวัด = กรุงเทพ
| พิมพ์ที่ = สำนักพิมพ์เพื่อนดี บริษัท อักษรโสภณ จำกัด
| ปี = พิมพ์ครั้งที่ 2 มีนาคม 2551
| ISBN = 978-974-253-061-7
| หน้า =
| จำนวนหน้า = 300
}}
</ref>
ทำให้พระราชชนนีในรัชกาลที่ 1 ทรงดำรงเป็น พระอัยยิกา แต่พระราชชนกในรัชกาลที่ 1 ออกพระนามเป็นสมเด็จพระปฐมบรมปัยกาธิบดี
 
== อ้างอิงและเชิงอรรถ ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==