ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กัสซีนี–เฮยเคินส์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ไฟล์:celestia_cassini.png|thumbnail|right|250px|ภาพจำลองสามมิติ ยานสำรวจอวกาศกัสซีนี ขณะโคจรรอบดาวเสาร์ (ภาพจากโปรแกรม [[Celestia]])]]
{{ปัจจุบัน}}
ภารกิจ'''''กัสซีนี–เฮยเคินส์''''' ({{lang-it|Cassini–Huygens}}) หรือ '''''แคสซีนี–ไฮเกนส์''''' เป็นความร่วมมือระหว่าง[[นาซา]], [[องค์การอวกาศยุโรป]] (ESA) และ[[องค์การอวกาศอิตาลี]] (ASI) เพื่อส่งยานไปศึกษา[[ดาวเสาร์]]และระบบดาวเสาร์ อันรวมถึงวงแหวนดาวเสาร์และดาวบริวาร ยานอวกาศหุ่นยนต์ไร้คนบังคับชั้นแฟลกชิปประกอบด้วยยานกัสซีนีของนาซา และส่วนลงจอดเฮยเคินส์ของ ESA ซึ่งจะลงจอดบน[[ไททัน (ดาวบริวาร)|ไททัน]] ดาวบริวารใหญ่ที่สุดของดาวเสาร์ กัสซีนีเป็นยานอวกาศลำที่สี่ที่เยือนดาวเสาร์และเป็นลำแรกที่เข้าสู่วงโคจร ยานนี้ตั้งชื่อตามนักดาราศาสตร์[[โจวันนี โดเมนีโก กัสซีนี]]และ[[คริสตียาน เฮยเคินส์]]
 
[[ไฟล์:celestia_cassini.png|thumbnail|right|250px|ภาพจำลองสามมิติ ยานสำรวจอวกาศกัสซีนี ขณะโคจรรอบดาวเสาร์ (ภาพจากโปรแกรม [[Celestia]])]]
[[ไฟล์:Cassini's Grand Finale.jpg|250px|thumb||ยานกัสซินีพุ่งชน[[ดาวเสาร์]]เพื่อทำลายตัวเอง]]
'''กัสซีนี–เฮยเคินส์''' ({{lang-en|Cassini–Huygens}}) หรือ '''แคสซีนี–ไฮเกนส์''' เป็นภารกิจยานอวกาศร่วมระหว่าง[[นาซา|องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ]] (นาซา), [[องค์การอวกาศยุโรป]] (ESA) และ[[องค์การอวกาศอิตาลี]] (ASI) เพื่อศึกษา[[ดาวเสาร์]]และดาวบริวารตามธรรมชาติจำนวนมากตั้งแต่ [[พ.ศ. 2547]] ถูกปล่อยขึ้นสู่อวกาศใน [[พ.ศ. 2540]] หลังพัฒนาแนวคิดมานานเกือบสองทศวรรษ ยานอวกาศดังกล่าวมีส่วนโคจรดาวเสาร์และยานสำรวจและส่วนลงอุตุนิยมวิทยาสำหรับดวงจันทร์[[ไททัน (ดวงจันทร์)|ไททัน]] แม้มันจะยังส่งข้อมูลอย่างอื่นกลับมายังโลกอีกอย่างกว้างขวาง รวมไปถึง[[เฮลิโอสเฟียร์]] [[ดาวพฤหัสบดี]] และ[[ทฤษฎีสัมพัทธภาพ|การทดสอบทฤษฎีสัมพัทธภาพ]] ยานสำรวจเฮยเคินส์เข้าและลงจอดบนดวงจันทร์ไททันใน [[พ.ศ. 2548]] ส่วนยานแคสซีนียังคงสำรวจต่อไปและได้พุ่งชนดาวเสาร์เพื่อทำลายตัวเองไปแล้วเมื่อวันที่ [[15 กันยายน]] [[พ.ศ. 2560]] เมื่อเวลา 10:31 [[UTC]] และสัญญานขาดหายเมื่อเวลา 11:55:46 [[UTC]]<ref>{{cite web|url=https://www.nasa.gov/press-release/nasa-s-cassini-spacecraft-ends-its-historic-exploration-of-saturn|title=ยานอวกาศแคสสินีของนาซ่า สิ้นสุดการสำรวจประวัติศาสตร์ของดาวเสาร์|publisher=[[นาซา]]|date=15 September 2017|accessdate=16 September 2017}}</ref>
 
ยานสำรวจอวกาศกัสซีนี-เฮยเคินส์ที่สมบูรณ์ถูกปล่อยขึ้นสู่อวกาศเมื่อวันที่ [[15 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2540]] โดย ไททัน 4บี/เซ็นทอร์ และหลังการเดินทางระหว่างดาวเคราะห์อันยาวนาน มันได้เข้าสู่วงโคจรรอบดาวเสาร์เมื่อวันที่ [[1 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2547]] เมื่อวันที่ [[25 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2547]] ยานสำรวจเฮยเคินส์ถูกแยกจากส่วนโคจรเมื่อเวลาประมาณ 02:00 [[UTC]] เฮยเคินส์ถึงดวงจันทร์ไททันของดาวเสาร์เมื่อวันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2548 เมื่อมันเคลื่อนเข้าไปในชั้นบรรยากาศของไททัน และลดระดับลงจนถึงพื้นผิว ส่งข้อมูลทางวิทยาศาสตร์กลับไปยังโลกด้วยการตรวจวัดทางไกล (telemetry) ซึ่งการลงจอดดังกล่าวนับเป็นการลงจอดที่ประสบความสำเร็จครั้งแรกในระบบสุริยะชั้นนอก วันที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2551 นาซาประกาศขยายทุนสำหรับปฏิบัติการภาคพื้นดินของภารกิจนี้สองปี ซึ่งภารกิจถูกเปลี่ยนชื่อเป็น '''ภารกิจวิษุวัตกัสซีนี''' (Cassini Equinox Mission)<ref name=ExtensionTo2010>{{cite news| url=http://www.cnn.com/2008/TECH/science/04/16/NASA.Saturn.ap/index.html | title=NASA extends Saturn mission - CNN.com}} {{ลิงก์เสีย|date=สิงหาคม 2553}}</ref> และได้ขยายอีกครั้งในเดือน[[กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2553]] ด้วย'''ภารกิจอายันกัสซีนี''' (Cassini Solstice Mission) ที่มีต่อเนื่องไปจนถึง [[พ.ศ. 2560]] ซึ่งยานกัสซีนีเป็นยานสำรวจอวกาศลำที่ 4 ที่ไปถึงดาวเสาร์ และเป็นลำแรกที่เข้าสู่วงโคจร