ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะกรรมการรณรงค์เพื่อการปฏิรูปสื่อ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
Bact (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มการอ้างอิงจากหนังสือพิมพ์ภาษาไทยและสิ่งตีพิมพ์วิชาการภาษาอังกฤษ
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
'''คณะกรรมการรณรงค์เพื่อการปฏิรูปสื่อ (คปส.)''' ดำเนินงานในลักษณะพหุภาคี(อังกฤษ: เกิดจากการวมตัวของCampaign for Popular Media Reform - CMPR) เป็นเครือข่ายของนักวิชาการ องค์กรพัฒนาเอกชน นักวิชาชีพสื่อสารมวลชนสื่อ และเครือข่ายภาคประชาสังคม ที่ร่วมกันติดตาม ผลักดัน และมีส่วนร่วมในผลักดันการปฏิรูปสื่อ ซึ่งก่อนหน้านี้โดยเริ่มแรกใช้ชื่อ "'''คณะทำงานติดตามมาตรา 40"''' ตามมาตรา 40 ของ[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540|รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540]] ที่ว่าด้วยทรัพยากรคลื่นความถี่เพื่อการสื่อสาร ปัจจุบันคปส.ยุติบทบาทลงแล้ว
 
== ประวัติ ==
[[s:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540๒๕๔๐/หมวด ๔ หน้าที่ของชนชาวไทย|รัฐธรรมนูญฉบับประชาชนแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. 2540)]] ได้บัญญัติถึงหลักในการปฏิรูปสื่อของรัฐ และหลักการส่งเสริมสิทธิเสรีภาพของสื่อมวลชนและประชาชน ไว้ในมาตรา 39, 40-41 และในมาตรา 4140 ระบุว่า
 
<blockquote>
กลไกในมาตรา 40 คือ กำหนดให้มีองค์กรของรัฐที่เป็นอิสระเพื่อทำหน้าที่จัดสรรและกำกับดูแลคลื่นความถี่วิทยุ โทรทัศน์ และโทรคมนาคม ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชน ทั้งในระดับชาติและระดับท้องถิ่น รวมทั้งสร้างกลไกการแข่งขันอย่างเสรีและเป็นธรรม
คลื่นความถี่ที่ใช้ในการส่งวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และวิทยุโทรคมนาคม เป็นทรัพยากรสื่อสารของชาติเพื่อประโยชน์สาธารณะ
 
ให้มีองค์กรของรัฐที่เป็นอิสระทำหน้าที่จัดสรรคลื่นความถี่ตามวรรคหนึ่ง และกำกับดูแลการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ
ปัจจุบันคณะกรรมการ ปี 2551-2552 มี [[สุเทพ วิไลเลิศ]] เป็นเลขาธิการ [[อุบลรัตน์ ศิริยุวศักดิ์|รศ.ดร.อุบลรัตน์ ศิริยุวศักดิ์]] เป็นประธาน และกรรมการตำแหน่งต่างๆ 14 คน รวมทั้งรองประธาน 3 คน หนึ่งในนั้นคือ [[สุภิญญา กลางณรงค์]]
 
การดำเนินการตามวรรคสองต้องคำนึงถึงประโยชน์สูงสุดของประชาชนในระดับชาติและระดับท้องถิ่น ทั้งในด้านการศึกษา วัฒนธรรม ความมั่นคงของรัฐ และประโยชน์สาธารณะอื่น รวมทั้งการแข่งขันโดยเสรีอย่างเป็นธรรม
== ดูเพิ่ม ==
</blockquote>
* [[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540|รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน]]
 
มาตราดังกล่าวถือว่าเป็นผลจากการผลักดันของภาคประชาชนให้เกิดการปฏิรูปสื่อภายหลัง[[เหตุการณ์พฤษภาทมิฬ]]ในปี 2535 โดยชูแนวคิด “สื่อต้องเป็นของประชาชน”<ref>เบญจา ศิลารักษ์. [http://www.manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?NewsID=9490000124427 ปฏิรูปสื่อยกสองในยุค คปค.] ผู้จัดการออนไลน์. 5 ตุลาคม 2549.</ref> เพื่อติดตามและผลักดันให้เกิดการจัดตั้งองค์กรดังกล่าวตามจุดประสงค์ที่ระบุไว้ในรัฐธรรมนูญมาตราดังกล่าว นักวิชาการ องค์กรพัฒนาเอกชน นักวิชาชีพสื่อ และเครือข่ายประชาสังคม จึงได้รวมตัวกันอย่างหลวมๆ ในปี 2540 ในชื่อ ''"คณะทำงานติดตามมาตรา 40"'' โดยบรรยากาศในช่วงดังกล่าวภาคประชาชนมีความตื่นตัวกับสิทธิตามมาตรา 40 ดังกล่าวมาก คณะทำงานได้ยื่นหนังสือต่อรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีในขณะนั้นคือ [[สุพัตรา มาศดิตถ์]] จนมีผู้แทนจากกลุ่มที่มีสิทธิในทรัพยากรการสื่อสารตามมาตรา 40 ร่วมประชุมพิจารณาร่างพ.ร.บ.การประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ ร่วมกับ[[สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (ประเทศไทย)|สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา]]<ref>[https://www.isranews.org/community/comm-interview/1119-2010-09-29-08-11-09.html “ดร.เอื้อจิต” มองระยะเปลี่ยนผ่านวิทยุชุมชน หวังสุดท้ายตอบโจทย์ "เพื่อใคร".] สำนักข่าวอิศรา. 29 กันยายน 2553.</ref>
 
ต่อมาในปี 2543 คณะทำงานฯ ได้ก่อตั้งเป็นโครงการภายใต้[[มูลนิธิอาสาสมัครเพื่อสังคม|มูลนิธิอาสาสมัครเพื่อสังคม (มอส.)]] ใช้ชื่อว่า "คณะกรรมการรณรงค์เพื่อการปฏิรูปสื่อ" กรรมการและที่ปรึกษาของคปส.มาจากหลายสาขาและความสนใจ เช่น [[วิษณุ วรัญญู]] อาจารย์กฎหมาย ซึ่งเคยเป็นกรรมาธิการร่าง[[s:พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐|พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540]] [[พิทยา ว่องกุล]] อาจารย์สังคมศาสตร์ ซึ่งเคยเป็นผู้สมัครรับเลือกเป็นกรรมการกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์แห่งชาติ (กสช.) และ [[เอื้อจิต วิโรจน์ไตรรัตน์]] อาจารย์สื่อสารมวลชน ซึ่งจัดเวทีและอบรมให้กับสถานีวิทยุชุมชนทั่วประเทศ<ref>Wongrujira, Monwipa. [https://www.researchgate.net/publication/254672990_Democratizing_Communication_Media_Activism_and_Broadcasting_Reform_in_Thailand "Democratizing Communication: Media Activism and Broadcasting Reform in Thailand"] (2008). ''Electronic Theses, Treatises and Dissertations.'' Paper 831.</ref>
 
== คปส.กับความขัดแย้งทางการเมือง ==
 
ภายหลังการ[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549|รัฐประหารเมื่อวันที่ 19 กันยายน 2549]] ซึ่งทำให้รัฐธรรมนูญปี 2540 สิ้นสุดลง คปส.ได้ออกแถลงการณ์ฉบับที่ 1 แสดงความเสียใจถ้าหากการรัฐประหารนำไปสู่การล้มล้างหลักการในมาตรา 39, 40, และ 41 และเรียกร้องให้[[คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข|คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.)]] รักษาหลักการเสรีภาพสื่อและอิสรภาพในการแสดงออกของประชาชนตามที่ระบุไว้ในรัฐธรรมนูญปี 2540<ref>[https://prachatai.org/journal/2006/10/9960 แถลงการณ์ คณะกรรมการรณรงค์เพื่อการปฏิรูปสื่อ ฉบับที่ 1.] 21 กันยายน 2549.</ref> และต่อมาหลังจากคปค.ได้ใช้อำนาจปิดกั้นเว็บไซต์ที่แสดงความคิดเห็นทางการเมืองเช่น www.19sep.org และ www.midnightuniv.org และใช้มาตรการทางกฎหมายฟ้องร้องผู้วิพากษ์วิจารณ์ เช่น การฟ้องเอาผิดทางอาญากับ [[ใจ อึ๊งภากรณ์]] อาจารย์มหาวิทยาลัย คปส.ได้ออกแถลงการณ์ฉบับที่ 2 ประณามการกระทำดังกล่าวและเชิญชวนให้ประชาชนร่วมกิจกรรมไว้อาลัยรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2540 ในวันที่ 11 ตุลาคม 2549 ณ [[อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย]]<ref>[https://prachatai.com/journal/2006/10/9958 แถลงการณ์ คณะกรรมการรณรงค์เพื่อการปฏิรูปสื่อ ฉบับที่ 2.] 4 ตุลาคม 2549.</ref> โดยในกิจกรรมดังกล่าว [[อุบลรัตน์ ศิริยุวศักดิ์|รศ.ดร.อุบลรัตน์ ศิริยุวศักดิ์]] ประธานคณะกรรมการคปส. ได้กล่าวให้ประชาชนจับตาติดตามการปฏิรูปสื่อและการปฏิรูปการเมืองว่าจะเกิดขึ้นหรือไม่ และเสนอในนามคปส.ให้เปลี่ยนสื่อของรัฐมาเป็นสื่อสาธารณะที่ประชาชนเป็นเจ้าของทั้งหมด ส่วน [[สุภิญญา กลางณรงค์]] เลขาธิการคปส. ได้อ่านแถลงการณ์จุดยืนและข้อเรียกร้อง 10 ข้อเรื่องการปฏิรูปสื่อ<ref>[https://prachatai.com/journal/2006/10/10063 จุดยืน 10 ข้อ เรื่องการปฏิรูปสื่อและสิทธิเสรีภาพทางการเมืองของ คปส.] ประชาไท. 12 ตุลาคม 2549.</ref>
 
ในสถานการณ์ภายใต้[[s:พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘|พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548]] หลัง[[การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ. 2553|การปราบปรามผู้ชุมนุมเสื้อแดง]]ในปี 2553 คปส.โดย [[สุเทพ วิไลเลิศ]] เลขาธิการในขณะนั้น ได้ติดตามการปิดกั้นการนำเสนอข่าวสารทางวิทยุชุมชน และรวบรวมรายชื่อผู้ถูกออกหมายจับและดำเนินคดีจากการนำเสนอข่าวสารทางวิทยุชุมชน<ref>[https://www.scribd.com/document/37722806/Different-Idea-is-Crime ประเทศไทย ‘ความเห็นต่าง’ คืออาชญากรรม: รายงานการแทรกแซงวิทยุชุมชนภายใต้สถานการณ์ความขัดแย้งทางการเมือง.] คณะกรรมการรณรงค์เพื่อการปฏิรูปสื่อ. 19 ก.ย. 2553.</ref>
 
== อ้างอิง ==
<references />
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.media4democracy.com/th/index.php?option=com_content&task=view&id=5&Itemid=6 เกี่ยวกับ คปส. - media4democracy.com] เปิดดูล่าสุด 26 มี.ค. 2551
{{วิกิคำคม}}
 
[[หมวดหมู่:คณะกรรมการ]]