ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเมกุฏิสุทธิวงศ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีอ้างอิง
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
{{สั้นมาก}}
[[ไฟล์:Yun Bayin (Mekuti) nat.jpg|thumb|รูปลักษณ์ของ[[นัต (ผี)|นัต]]โยนบะเยง (ယွန်းဘုရင်, Yun Bayin) หรือนัตพระเจ้าเมกุฏิสุทธิวงศ์ ตามความเชื่อของชาวพม่า]]
'''พระเจ้าเมกุฏิสุทธิวงศ์'''<ref>รุ่งพงษ์ ชัยนาม. '''ประวัติศาสตร์ล้านนา : ประวัติศาสตร์ไทยที่คนไทยไม่ค่อยมีโกาสได้ศึกษา'''. [[มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช]]</ref>, หรือ'''พระเมกุฏิสุริยวงศ์''', '''พญาเมกุ''', '''ท้าวแมกุแม่กุ''' ทรงหรือ'''เจ้าขนานแม่กุ'''<ref>สรัสวดี อ๋องสกุล. ''ประวัติศาสตร์ล้านนา''. กรุงเทพฯ : อมรินทร์, 2539. หน้า 178-179</ref> ส่วนพม่าเรียกว่า '''โยนบะเยง''' ({{lang-my|ယွန်းဘုရင်}}, Yun Bayin "กษัตริย์ของ[[ไทยวน|ชาวโยน]]") หรือ '''พระสัง'''<ref name="พม่า">อรนุช-วิรัช นิยมธรรม. "นัต : ผีอารักษ์ในสังคมพม่า". ''พม่าอ่านไทย''. กรุงเทพฯ : มติชน, 2555, หน้า 162-163</ref> เป็นอดีต[[เจ้าฟ้า]][[เมืองนาย]]มาก่อน แต่ด้วยทรงมีเชื้อสายของเจ้าขุนเครือ และเป็นพระราชโอรสพระองค์โตในมหากษัตริย์แห่ง[[พญามังรายอาณาจักรล้านนา]]กับเพราะทรงสืบเชื้อสายมาจาก[[พระนางอั้วมิ่งเวียงไชยพญามังราย]]พระอัครมเหสี ข้าราชบริพารล้านนาจึงอัญเชิญพระองค์มาปกครองภายหลังอาณาจักรล้านนา ต่อจากได้พ่ายแพ้แก่พม่าในรัชสมัย[[พระไชยเชษฐาพระเจ้าบุเรงนอง]]ที่ทรงเวนราชสมบัติล้านนาคืนให้แก่อาณาจักร และเสด็จกลับหลวงพระบาง ทรงครองราชพระเจ้าเมกุฏิสุทธิวงศ์จึงถูกนำไปเป็นกษัตย์เป็นพระองค์ที่ 16 ขณะนั้นอาณาจักรล้านนาอยู่องค์ประกันในภาวะอ่อนแอ จึงเสียเมืองให้กับพม่าก่อนสวรรคตที่นั่นด้วย[[พระเจ้าบุเรงนองโรคบิด]]ในที่สุด<ref name="พม่า"/>
 
การสวรรคตด้วยพระโรคบิดของพระองค์นั้น ทางคติพม่าถือว่าเป็นการตายร้าย น่าสังเวชเวทนา จึงกลายเป็น[[นัต]]ตระกูลสูงหนึ่งจากทั้งหมดสามสิบเจ็ดตน<ref name="พม่า"/>
ในปัจจุบัน พระเจ้าเมกุฏิสุทธิวงศ์ ได้รับการยกย่องให้เป็น[[นัต (ผี)|นัต]]หลวงตนนึง ตามความเชื่อเรื่องผีนัตของพม่าด้วย
 
== พระราชประวัติ ==
พระเจ้าเมกุฏิสุทธิวงศ์แต่เดิมเป็นเจ้านายจาก[[เมืองนาย]]ใน[[รัฐชาน|หัวเมืองเงี้ยว]] ไม่ปรากฏพระนามพระราชชนก ทราบแต่เพียงว่าพระราชชนกนั้นสืบเชื้อสายมาจาก[[ขุนเครือ]] ซึ่งเป็นพระราชโอรสใน[[พญามังราย]]ที่ไปครองเมืองนาย อันเป็นดินแดนที่มีชาวไทใหญ่อยู่เป็นจำนวนมาก แต่ภายหลังขุนเครือทรงพยายามที่จะชิงราชบัลลังก์ของ[[พญาไชยสงคราม]]พระเชษฐาแต่ไม่สำเร็จ และถูกเจ้าน้ำท่วมสังหารในเวลาต่อมา<ref>อรุณรัตน์ วิเชียรเขียว และเดวิด เค วัยอาจ (ปริวรรต). ''ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่''. กรุงเทพฯ : ตรัสวิน, 2543, หน้า 45</ref><ref>สรัสวดี อ๋องสกุล. ''ประวัติศาสตร์ล้านนา''. กรุงเทพฯ : อมรินทร์, 2539. หน้า 148</ref> บางแห่งก็ว่ายึดสำเร็จ แต่ภายหลังถูกจับได้ จึงถูกขังไว้จนถึงแก่กรรม<ref name="สรัสวดี">สรัสวดี อ๋องสกุล. ''ประวัติศาสตร์ล้านนา''. กรุงเทพฯ : อมรินทร์, 2539. หน้า 237-238</ref> อย่างไรก็ตาม แม้ว่าเมืองนายจะมีเจ้านายเป็นเครือญาติกับกษัตริย์ล้านนา<ref>เสมอชัย พูลสุวรรณ. ''รัฐฉาน (เมืองไต) : พลวัติของชาติพันธุ์ในบริบทประวัติศาสตร์และการเมืองร่วมสมัย''. กรุงเทพฯ : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน), 2552, หน้า 18</ref> ทว่าเมืองนายคุกคามเมืองเชียงใหม่ในบางโอกาส บางครั้งก็ตกเป็น[[รัฐบรรณาการ]]ของล้านนาในช่วงเวลาที่ล้านนารุ่งเรือง<ref name="สรัสวดี"/>
 
ส่วนพระราชชนนีของพระเจ้าเมกุฏิสุทธิวงศ์ก็ไม่ปรากฏพระนามเช่นกัน ดร. สุเนตร ชุตินทรานนท์ได้สันนิษฐานว่าพระราชชนนีของพระองค์คือ[[พระนางวิสุทธิเทวี]] ที่ครองเมืองเชียงใหม่ต่อจากพระเจ้าเมกุฏิสุทธิวงศ์หลังถูก[[พระเจ้าบุเรงนอง]]ยึดครอง โดยให้เหตุผลว่าเป็นหลักประกันเพื่อมิให้เจ้าแผ่นดินพระองค์ใหม่คิดแข็งเมืองต่อพม่า<ref>สุเนตร ชุตินธรานนท์. ดร. ''พม่ารบไทย''. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ : มติชน, 2554. หน้า 294</ref>
 
== อ้างอิง ==
เส้น 13 ⟶ 18:
| รูปภาพ = Seal of Lanna Chiangmai (Full).png
| ก่อนหน้า = [[พระไชยเชษฐา]]
| ตำแหน่ง = กษัตริย์แห่ง[[อาณาจักรล้านนา]]
| ราชวงศ์ = ราชวงศ์เม็งรายมังราย
| ปี = [[พ.ศ. 2094]] - [[พ.ศ. 2094–2101]]
| ถัดไป = -สิ้นสุด
}}
{{สืบตำแหน่ง
| รูปภาพ =
| ก่อนหน้า = -เริ่มตำแหน่งใหม่
| ตำแหน่ง = กษัตริย์แคว้นล้านนา<br>ในฐานะรัฐบรรณาการของอาณาจักรตองอู
| ราชวงศ์ = ราชวงศ์มังราย
| ปี = [[พ.ศ. 2101]] - [[พ.ศ. 2101–2107]]
| ถัดไป = [[พระนางวิสุทธิเทวี]]
}}
เส้น 33 ⟶ 38:
 
{{เกิดปี|}}{{ตายปี|}}
 
[[หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ล้านนา]]
[[หมวดหมู่:ราชวงศ์มังราย]]