ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลำดับเหตุการณ์คณะราษฎร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 16:
* 24 มิถุนายน – คณะราษฎรประกาศ เปลี่ยนแปลง[[การปกครอง]]ของ[[ประเทศไทย]] จาก[[ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์]]ไปเป็น[[ระบอบประชาธิปไตย]] ในการปฏิบัติการ มีพระยาพหลพลพยุหเสนาเป็นหัวหน้าคณะราษฎร
 
== ลำดับเหตุการณ์หลังการปฏิวัติ (พ.ศ. 2475-2475–2503) ==
 
=== พ.ศ. 2475 ===
บรรทัด 26:
 
=== [[พ.ศ. 2476]] ===
* [[1 เมษายน]] - มีพระราชกฤษฎีกาปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎร และงดใช้รัฐธรรมนูญเกือบทุกมาตรา<ref name="samesky-05-02">บทความ ''เมรุคราวกบฏบวร: เมรุสามัญชนครั้งแรกกลางท้องสนามหลวง'' ชาตรี ประกิตนนทการ - นิตยสารฟ้าเดียวกัน ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 เม.ย. - มิ.ย. 2550</ref> (บางข้อมูลบ้างอธิบายว่าพฤติการณ์ดังกล่าวเป็นการยึดอำนาจตัวเอง เพื่อจัดตั้งคณะรัฐบาลใหม่<ref name="history-politics" />)
* [[2 เมษายน]] - มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติว่าด้วยคอมมิวนิสต์ถูกประกาศใช้ตามคำแนะนำของคณะรัฐมนตรี<ref name="thai-cons-dev" /> เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการกำจัดฝ่ายตรงข้ามทางการเมือง<ref name="history-politics" /> (โดยในที่นี้ อาจหมายถึง คณะราษฎร เพราะขณะนั้นนายกรัฐมนตรีในขณะนั้นอยู่ฝ่ายตรงข้ามกับคณะราษฎร){{อ้างอิง}}
* [[12 เมษายน]] - นายปรีดีถูกบังคับให้เดินทางออกนอกประเทศไปยัง[[ประเทศฝรั่งเศส|ฝรั่งเศส]] เนื่องจากความเห็นของนายปรีดีถูกโจมตีว่าเป็น[[คอมมิวนิสต์]] ภายหลังการเสนอเค้าโครงร่างทางเศรษฐกิจ ที่เจ้าและขุนนางต้องเสียผลประโยชน์<ref name="geocities-siamintellect">[http://web.archive.org/20070723175344/www.geocities.com/siamintellect/intellects/pridi/biography.htm geocities.com/siamintellect ชีวประวัติ ปรีดี พนมยงค์]</ref>
* [[10 มิถุนายน]] - พระยาพหลพลพยุหเสนา พระยาทรงสุรเดช พระประศาสน์พิทยายุทธ และพระยาฤทธิอัคเนย์ ผู้นำสายทหารของคณะราษฎรยื่นจดหมายลาออก<ref name="samesky-05-02" />
* [[20 มิถุนายน]] - [[พระยาพหลพลพยุหเสนา|พลเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา]]ทำการยึดอำนาจรัฐประหาร[[พระยามโนปกรณ์นิติธาดา]] นายกรัฐมนตรี หลังจากการรัฐประหารได้นั้นมีการล้างมลทินให้หลวงประดิษฐมนูธรรม
* [[29 กันยายน]] - นายปรีดี พนมยงค์เดินทางกลับสยาม และดำรงตำแหน่ง[[ศาสตราจารย์]] [[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]
* [[11 ตุลาคม]] - [[กบฏบวรเดช]]: พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช อดีตเสนาบดีกระทรวงกลาโหม เป็นหัวหน้าฝ่ายทหารนำกำลังทหารจากหัวเมืองภาคอีสานล้มล้างการปกครองของรัฐบาล เนื่องจากไม่พอใจที่นายถวัลย์ ฤทธิเดชฟ้องร้องพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ในกรณีที่ที่พระองค์มีพระบรมราชวินิจฉัยคัดค้านแผนพัฒนาเศรษฐกิจของนายปรีดี พนมยงค์ ("สมุดปกเหลือง") โดยออกเป็นสมุดปกขาว แต่กระทำการไม่สำเร็จ
* [[25 ตุลาคม]] - พระองค์เจ้าบวรเดช หัวหน้าคณะกบฏและพระชายา ทรงขึ้นเครื่องบินเดินทางหนีไปยังประเทศ[[อินโดจีนฝรั่งเศส]]
* [[23 ตุลาคม]] - นายพันเอก พระยาศรีสิทธิสงคราม (ดิ่น ท่าราบ) ถูกยิงเสียชีวิตโดยทหารจากกองพันทหารราบที่ 6 นำโดยพันตรีหลวงวีรวัฒน์โยธา
* [[7 พฤศจิกายน]] - ออกพระราชบัญญัติป้องกันรักษารัฐธรรมนูญ อันเป็นเครื่องมือที่จะตอบโต้ฝ่ายต่อต้านรัฐบาล<ref name="history-politics" /> (ในที่นี้ อาจหมายถึงคือ ฝ่ายตรงข้ามกับคณะราษฎร){{อ้างอิง}}
* [[25 ตุลาคม]] - พระองค์เจ้าบวรเดช หัวหน้าคณะกบฏและพระชายา ทรงขึ้นเครื่องบินเดินทางหนีไปยังประเทศ[[อินโดจีนฝรั่งเศส]]
* [[16 ธันวาคม]] - พันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา เป็นนายกรัฐมนตรี และตั้งคณะรัฐมนตรีชุดใหม่หลังจากการเลือกตั้งสมาชิกสภาแบบ 2 ชั้น (1 ตุลาคม - 15 พฤษภาคม) <ref name="thai-cons-dev" />
* [[7 พฤศจิกายน]] - ออกพระราชบัญญัติป้องกันรักษารัฐธรรมนูญ อันเป็นเครื่องมือที่จะตอบโต้ฝ่ายต่อต้านรัฐบาล<ref name="history-politics" /> (ในที่นี้ อาจหมายถึง ฝ่ายตรงข้ามกับคณะราษฎร)
* [[25 ธันวาคม]] - [[หม่อมเจ้าวรรณไวทยากร วรวรรณ]]ทรงเป็นประธานคณะกรรมการพิจารณาเรื่องที่นายปรีดี เป็นคอมมิวนิสต์ ได้ลงมติว่าตัวนายปรีดี มิได้เป็นคอมมิวนิสต์<ref name="history-politics" />
* [[16 ธันวาคม]] - พันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา เป็นนายกรัฐมนตรี และตั้งคณะรัฐมนตรีชุดใหม่หลังจากการเลือกตั้งสมาชิกสภาแบบ 2 ชั้น (1 ตุลาคม - 15 พฤษภาคม) <ref name="thai-cons-dev" />
* [[25 ธันวาคม]] - [[หม่อมเจ้าวรรณไวทยากร วรวรรณ]]ทรงเป็นประธานคณะกรรมการพิจารณาเรื่องที่นายปรีดี เป็นคอมมิวนิสต์ ได้ลงมติว่าตัวนายปรีดี มิได้เป็นคอมมิวนิสต์<ref name="history-politics" />
 
=== [[พ.ศ. 2477]] ===
* [[2 มีนาคม]] - [[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงสละราชสมบัติ ขณะประทับรักษาพระเนตรอยู่ใน[[ประเทศอังกฤษ]], วันเดียวกัน [[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล]]เสด็จขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์ลำดับที่ 8 แห่ง[[ราชวงศ์จักรี]] ขณะที่มีพระชนมายุ 9 พรรษา ได้แต่งตั้งคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
* [[13 กันยายน]] - รัฐบาลลาออก เพราะแพ้คะแนนเสียงในสภาเรื่องสัญญาการจำกัดยาง<ref name="thai-cons-dev" />
* [[2 มีนาคม]] - [[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล]]เสด็จขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์ลำดับที่ 8 แห่ง[[ราชวงศ์จักรี|ราชจักรีวงศ์]] ขณะที่มีพระชนมายุเพียง 9 พรรษา 5 เดือน 10 วัน ได้แต่งตั้งคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
* [[22 กันยายน]] - ตั้งคณะรัฐมนตรีชุดใหม่ โดยมีพระยาพหลพลพยุหเสนาเป็นนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และนายปรีดี พนมยงค์ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย<ref name="thai-cons-dev" />
* [[13 กันยายน]] - รัฐบาลลาออก เพราะแพ้คะแนนเสียงในสภาเรื่องสัญญาการจำกัดยาง<ref name="thai-cons-dev" />
* [[22 กันยายน]] - ตั้งคณะรัฐมนตรีชุดใหม่ โดยมีพระยาพหลพลพยุหเสนาเป็นนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และนายปรีดี พนมยงค์ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย<ref name="thai-cons-dev" />
 
=== [[พ.ศ. 2479]] ===
* [[14 ตุลาคม]] - เปิด [[อนุสาวรีย์ปราบกบฏ]] หรือ [[อนุสาวรีย์พิทักษ์รัฐธรรมนูญ]] ที่เขตบางเขน (ปัจจุบันเรียกเพียงว่า "[[อนุสาวรีย์หลักสี่]]") <ref>ประชาไท, [http://www.prachatai3.info/journal/2007/09/14218 ชาตรี ประกิตนนทการ : สถาปัตย์คณะราษฎร บนพื้นที่ศักดิ์สิทธิแห่งสมบูรณาญาสิทธิราชย์] (ย่อหน้า 8), [[ประชาไท]], 19 กันยายน พ.ศ. 2550</ref>
* 10 ธันวาคม - มีพิธีฝัง[[หมุดคณะราษฎร]]
 
=== [[พ.ศ. 2480]] ===
* [[27 กรกฎาคม]] - พระยาพหลพลพยุหเสนาลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จากกรณีอื้อฉาวที่มีกระทู้ถามเรื่องการนำที่ดินของ[[พระคลังข้างที่]]มาซื้อขายในราคาถูกเป็นพิเศษ เพื่อเป็นแสดงความบริสุทธิ์และแสดงให้เห็นถึงความไม่เกี่ยวข้องกับการซื้อขายที่ดินดังกล่าว<ref name="history-politics" />
* [[5 สิงหาคม]] - [[จอมพล ป.พิบูลสงคราม]] นายกรัฐมนตรี รับสนองพระบรมราชโองการ แก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญว่าด้วยนามประเทศ โดยให้เรียกชื่อประเทศว่า '''"ประเทศไทย"''' และเปลี่ยนคำว่า '''"สยาม"''' ให้เป็น '''"ไทย"''' แทน โดยเหตุผลของการเปลี่ยนแปลงหลักการของ '''"ลัทธิชาติ-ชาตินิยม"''' ว่า "รัฐบาลเห็นควรถือเป็นรัฐนิยมให้ใช้ชื่อประเทศ ให้ต้องตามชื่อเชื้อชาติ และความนิยมของประชาชน"<ref>[[มติชนสุดสัปดาห์]] ฉบับที่ 1401, 1402 วันที่ 22 และ 29 มิ.ย. 2550 (ผ่านหนังสือ ''จากสยามเป็นไทย: นามนั้นสำคัญมากฉะนี้หรือ?'' เอกสารวิชาการ โครงการตลาดวิชา มหาวิทยาลัยชาวบ้าน หน้า 8 [[ชาญวิทย์ เกษตรศิริ]]) </ref>
* [[7 พฤศจิกายน]] - การเลือกตั้งทั่วไปครั้งที่ 2 ในประวัติศาสตร์ไทย