ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จันทน์ชะมด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''จันทน์ชะมด''' เป็นชื่อเรียกไม้ต้น 2 ชนิด ได้แก่
{{taxobox
* '''''[[Aglaia silvestris]]''''' (M. Roem.) Merr. ใน[[วงศ์กระท้อน]] (Meliaceae)
|image=
* '''''[[Mansonia gagei]]''''' J.R. Drumm. ex Prain ในวงศ์ย่อย [[Sterculiaceae]] ของ[[วงศ์ชบา]] (Malvaceae) เครื่องยาจันทน์ชะมดที่มีจำหน่ายตามร้านขายยาไทยในปัจจุบันได้มาจากแก่นพืชชนิดนี้<ref>สุนันทา ศรีโสภณ, จันคนา บูรณะโอสถ และอุทัย โสธนะพันธุ์. "การพิสูจน์เอกลักษณ์ของเครื่องยาจันทน์ชะมดด้วยวิธีโครมาโทกราฟีแบบชั้นบาง." ''วารสารไทยเภสัชศาสตร์และวิทยาการสุขภาพ'' 11, 1 (2559): 53.</ref>
|image_caption=
|regnum = [[Plant]]ae
|divisio = [[Flowering plant|Angiosperms]]
|classis = [[Eudicots]]
|ordo = [[Rosids]]
|ordo = [[Malvales]]
|familia = [[Malvaceae]]/[[Sterculiaceae]]
|subfamilia = [[Helicteroideae]]
|genus = ''[[Mansonia ]]''
|species ='' M. gagei''
 
== อ้างอิง ==
|binomial =''Mansonia gagei''
{{รายการอ้างอิง}}
 
{{แก้กำกวม}}
|binomial_authority =
}}
'''จันทน์ชะมด''', '''จันทน์หอม''' หรือ '''จันทน์พม่า''' ({{ชื่อวิทยาศาสตร์|Mansonia gagei}}) เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบในวงศ์ Malvaceae เป็นไม้ยืนต้น ผลัดใบ ลำต้นตรง เปลือกสีเทาอมขาว ใบเดี่ยว ดอกช่อ ขนาดเล็ก สีขาว ผลแห้ง แต่ละผลมีปีกรูปสามเหลี่ยมที่ปลายผล 1 อัน ไม้ที่ตายเองมีกลิ่นคล้ายชะมด ใช้ทำหีบ ตู้เสื้อผ้า เนื้อไม้ใช้ผสมในยาแก้ไข้ น้ำมันที่กลั่นจากเนื้อไม้ ใช้ทำน้ำหอม ผสมในยาบำรุงหัวใจ
== อ้างอิง ==
*ชยันต์ พิเชียรสุนทร และ วิเชียร จีรวงศ์. คู่มือเภสัชกรรมแผนไทยเล่ม 3 เครื่องยาสัตววัตถุ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กทม. อัมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง. 2556.หน้า 254 - 255
{{ต้นไม้พระราชทาน}}
 
[[หมวดหมู่:วงศ์ชบา]]
[[หมวดหมู่:สมุนไพร]]
[[หมวดหมู่:พืชที่ใช้ทำของใช้]]
{{โครงพืช}}