ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Applezapotis (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{Infobox military conflict
|conflict = ฝ่ายสนธิสัญญากติกาสัญญาวอร์ซอรุกรานเชโกสโลวาเกีย
|partof =[[ปรากสปริง]]และ[[สงครามเย็น]]
|image =[[ไฟล์:10 Soviet Invasion of Czechoslovakia - Flickr - The Central Intelligence Agency.jpg|300px]]
|caption = ประชาชนชาว[[เชโกสโลวาเกีย]]กำลังถือ[[ธงชาติเชโกสโลวาเกีย]]ผ่านรถถังโซเวียตที่ไฟไหม้ใน[[กรุงปราก]]
|date = 20 สิงหาคม – 20 กันยายน ค.ศ. 1968
|place = [[สาธารณรัฐสังคมนิยมเชโกสโลวัก|เชโกสโลวาเกีย]]
|territory =
|result =
*ชัยชนะของฝ่ายสนธิสัญญากติกาสัญญาวอร์ซอ
*พิธีสารมอสโก
*อเล็กซานเดอร์ ดุปเชค ลาออกจากตำแหน่งเลขาธิการเอกพรรคคอมมิวนิสต์แห่งเชโกสโลวาเกีย
*[[กุสตาว ฮูซาก]] ได้รับเลือกเป็นเลขาธิการเอกพรรคคอมมิวนิสต์แห่งเชโกสโลวาเกีย และเริ่มต้นสมัยสมัยปรับให้เป็นปกติ (Normalization)
*กองทัพโซเวียตวางกำลังใน[[เชกโกสโลวาเกีย]]จนถึงปี [[ค.ศ. 1991]]
*[[แอลเบเนีย]]ถอนตัวออกจากสมาชิก[[สนธิสัญญากติกาสัญญาวอร์ซอ]]ในเดือน[[กันยายน]] [[ค.ศ. 1968]]
|combatant1 = '''[[สนธิสัญญากติกาสัญญาวอร์ซอ]]'''<br>{{Flagicon|Soviet Union|1955}} [[สหภาพโซเวียต]]<br>{{flagicon|Bulgaria|1967}} [[สาธารณรัฐประชาชนบัลแกเรีย|บัลแกเรีย]]<br>{{flagicon|Hungary|civil}} [[สาธารณรัฐประชาชนฮังการี|ฮังการี]]<br>{{flagicon|Poland}} [[สาธารณรัฐประชาชนโปแลนด์|โปแลนด์]]
|combatant2 = {{flagicon|Czechoslovakia}} [[สาธารณรัฐสังคมนิยมเชโกสโลวัก|เชโกสโลวาเกีย]]<br>{{flagicon image|Flag of Albania (1946-1992).svg}} [[สาธารณรัฐประชาชนแอลเบเนีย|แอลเบเนีย]]<br> {{flagicon image|Flag of Romania (1965-1989).svg}} [[สาธารณรัฐสังคมนิยมโรมาเนีย | โรมาเนีย]]<br> {{Flag|ยูโกสลาเวีย|1968}}
|commander1 = {{flagicon|USSR|1955}} '''[[เลโอนิด เบรจเนฟ]]'''<br />{{flagicon|USSR|1955}} [[อิวาน ปาพลอฟสกี]]<br />{{flagicon|USSR|1955}} [[อังเดร เกรคโค]]
|commander2 = {{flagicon|Czechoslovakia}} '''[[อเล็กซานเดอร์ ดุปเชค]]'''<br />{{flagicon|Czechoslovakia}} [[ลุดวิค สโวโบดา]]<br />{{flagicon|Czechoslovakia}} [[มาร์ติน ดิซัว]]
|strength1 =ทหาร 500,000 นาย (27 กองพล)<br />รถถัง 6,300 คัน<br />อากาศยาน 800 ลำ<br />และปืนใหญ่ 2,000 กระบอก
|strength2 = ทหาร 200,000-600,000 นาย (30 กองพล) <small>ในช่วงสองถึงสามวันสามารถเรียกระดมพลได้ 2,500,000 นาย{{clarify|date=January 2014}}</small><br />
อากาศยานมากกว่า 250 ลำ<br />
และรถถัง 2,500-3,000 คัน
บรรทัด 26:
}}
{{Eastern Bloc sidebar}}
'''การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายสนธิสัญญากติกาสัญญาวอร์ซอ''' เป็นเหตุการณ์ที่[[สหภาพโซเวียต]]และพันธมิตรหลักของสหภาพโซเวียตตาม[[สนธิสัญญากติกาสัญญาวอร์ซอ]]รุกราน[[เชโกสโลวาเกีย]]เพื่อยับยั้งการปฏิรูปทางการเมืองของ[[อเล็กซานเดอร์ ดุปเชค]] ในช่วง[[ปรากสปริง]]
 
ในคืนวันที่ 20 - 21 สิงหาคม ค.ศ. 1968 สหภาพโซเวียตและพันธมิตรหลักในสนธิสัญญากติกาสัญญาวอร์ซออันได้แก่บัลแกเรีย ฮังการี เยอรมนีตะวันออก และโปแลนด์ รุกรานสาธารณรัฐสังคมนิยมเชโกสโลวาเกีย<ref name="Global">{{cite web|author=globalsecurity.org |title=Global Security, Soviet occupation of Czechoslovakia |date=27 April 2005|publisher=GlobalSecurity.org |url=http://www.globalsecurity.org/military/world/war/czechoslovakia2.htm |accessdate=19 January 2007}}</ref>ในปฏิบัติการดานูบด้วยกองกำลังทหาร 500,000 นาย<ref>[http://www.globalsecurity.org/military/world/war/czechoslovakia2.htm Soviet Invasion of Czechoslovakia]. Globalsecurity.org. Retrieved on 23 June 2011.</ref> ทั้งนี้โรมาเนียและแอลเบเนียซึ่งเป็นรัฐสมาชิกของสนธิสัญญากติกาสัญญาวอร์ซอปฏิเสธที่จะมีส่วนร่วมในปฏิบัติการดังกล่าว ในขณะที่ฝ่ายเชโกสโลวาเกียมีผู้ได้รับบาดเจ็บ 500 คน และเสียชีวิต 108 คน<ref>[http://aktualne.centrum.cz/czechnews/clanek.phtml?id=608876 Soviet invasion of 1968 to have its own web page]. Aktualne.centrum.cz. Retrieved on 23 June 2011.</ref><ref>[http://www.ustrcr.cz/en/august-1968-victims-of-the-occupation August 1968 – Victims of the Occupation – Ústav pro studium totalitních režimů]. Ustrcr.cz. Retrieved on 23 June 2011. {{cs icon}}</ref>
 
การรุกรานครั้งนี้ประสบความสำเร็จในท้ายที่สุด ส่งผลให้การปฏิรูปและการเปิดเสรีในเชโกสโลวาเกียหยุดชะงักลง ทั้งยังช่วยเสริมสร้างอำนาจของฝ่ายซ้ายภายในพรรคคอมมิวนิสต์แห่งเชโกสโลวาเกีย (KSČ) ให้เข้มแข็งขึ้น