ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระพรหม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
{{กล่องข้อมูล เทวะ | name = พรหม | native_name = ब्रह्मा | image = Thai 4 Buddies.jpg | caption = ท้าวมหาพรหม ที่แยกราชประสงค์ [[กรุ
บรรทัด 32:
โดยความหมายของคำว่า "พรหม" หมายถึง "ความเจริญ, ความกว้างขวาง, ความขยายตัว หรือความเบิกบาน" ดังนั้นตามคติและวัตรปฏิบัติต่าง ๆ ทั้งในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และพุทธศาสนาจึงมีคำว่า พรหม ประกอบคำศัพท์ เช่น "[[พรหมจรรย์]]", "[[พรหมบุตร]]" หรือ "[[พรหมวิหาร ๔|พรหมวิหาร]]" เป็นต้น<ref name="สนุก">[http://guru.sanook.com/search/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%AB%E0%B8%A1/ พรหม จากสนุกดอตคอม]</ref>
 
== ==
== พระพรหม ในคติพระพุทธศาสนา ==
[[ไฟล์:001พระพรหม.jpg|thumb|left|พรหมในคติพุทธศาสนา: พรหมชั้น "รูปพรหม" ในไตรภูมิพระร่วง ฉบับกรุงธนบุรี]]
 
[[พระพรหม(ศาสนาพุทธ)|ในคติพระพุทธศาสนา]] ในคติพุทธศาสนา พระพรหม เป็นชาวสวรรค์ชั้นสูงขั้นหนึ่งที่สูงกว่าเทวดาทั่วไป เรียกว่า "พรหม" พระพรหมยังอยู่ในกามาวจรภพ มีการวนเวียนว่ายตายเกิดด้วยอำนาจกิเลส (โลภะ โทสะ โมหะ แต่ในภพชาติก่อนจุติและปฏิสนธิเป็นพรหมมีกุศลมาก มีฌาณสมาบัติเป็นอารมณ์ เมื่อตายจึงไปเกิดที่สวรรค์ชั้นนี้) อยู่ในสวรรค์ที่เรียกว่าชั้นพรหม ([[พรหมภูมิ]])
 
พระพรหมแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ พรหมที่มีรูป เรียกว่า "[[พรหมภูมิ|รูปพรหม]]" มีทั้งหมด 16 ชั้น และพรหมที่ไม่มีรูป เรียกว่า "[[พรหมภูมิ|อรูปพรหม]]" มีทั้งหมด 4 ชั้น โดยอรูปพรหมจะสูงกว่ารูปพรหม