ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ขบวนการอาเจะฮ์เสรี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Flag of Aceh.svg|thumb|250px|ธงของขบวนการอาเจะห์เสรีเจะฮ์เสรี]]
'''ขบวนการอาเจะห์เสรีเจะฮ์เสรี''' ({{lang-en|Free Aceh Movement}} ; {{lang-id|Gerakan Aceh Merdeka; GAM}}) หรือ '''แนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติอาเจะห์เจะฮ์สุมาตรา''' ({{lang-en|Aceh Sumatra National Liberation Front}}) เป็น[[ขบวนการแบ่งแยกดินแดน]]ที่เรียกร้องเอกราชในบริเวณ[[อาเจะห์เจะฮ์]]ที่อยู่ใน[[เกาะสุมาตรา]]ของ[[อินโดนีเซีย]] การต่อสู้ด้วยความรุนแรงขององค์กรยุติลงหลังจากการเจรจาสันติภาพกับรัฐบาลอินโดนีเซีย เมื่อ พ.ศ. 2548 ปัจจุบันรัฐบาลอินโดยนีเซียเรียกกลุ่มนี้ว่า ขบวนการก่อกวนความปลอดภัยในอาเจะห์เจะฮ์ (Aceh Security Disturbance Movement)
 
== ภูมิหลัง ==
ต้นกำเนิดของการต่อสู้ของขบวนการไม่ได้มาจากแรงบันดาลใจทางศาสนาเพียงอย่างเดียวแต่มีภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ร่วมด้วย อาเจะห์เจะฮ์ไม่ได้อยู่ภายใต้การควบคุมโดยตรงของ[[เนเธอร์แลนด์]].<ref>Ross, M L 2003 Resources and Rebellion in Aceh Indonesia, UCLA United States</ref>เช่นเดียวกับอาณานิคมอื่นๆในอินโดนีเซียที่ประกาศเอกราชเมื่อ พ.ศ. 2492 อาเจะห์เจะฮ์เลือกรวมเข้ากับสาธารณรัฐอินโดนีเซียเมื่อ พ.ศ. 2502 โดยทางรัฐบาลกลางยอมให้อาเจะห์เจะฮ์คงเอกลักษณ์ของตนเองที่เกี่ยวกับ[[ศาสนาอิสลาม]] รวมทั้งการใช้กฎหมายอิสลาม การรวมอำนาจเข้าสู่ศูนย์กลางของ[[ซูฮาร์โต]] ทำให้ ฮะซัน ดี ติโร ซึ่งสืบเชื้อสายาจาก[[สุลต่าน]]องค์สุดท้ายของอาเจะห์เจะฮ์ก่อตั้งขบวนการอาเจะห์เสรีเจะฮ์เสรี เมื่อ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2519.<ref>Rabasa, A & Haseman, J 2002, The Military and Democracy in Indonesia: Challenges, Politics, and Power, Rand Corporation United States.</ref> และประกาศเอกราชของอาเจะห์เจะฮ์ โดยประกาศว่าอาเจะห์เจะฮ์ถูกปกครองในฐานะอาณานิคมของ[[ชวา]]
 
== สงครามกองโจร ==
ในช่วงแรก สงครามกองโจรของขบวนการอาเจะห์เจะฮ์เสรีไม่ประสบความสำเร็จและถูกรัฐบาลควบคุมได้ใน พ.ศ. 2520<ref>Schulze,K , 2003 The Free Aceh Movement (GAM): Anatomy of a Separatist Organization, East West Centre, Washington</ref> ต่อมา กลุ่มได้มีการปรับองค์กรใหม่เมื่อราว พ.ศ. 2523 โดยได้รับความช่วยเหลือทางการเงินจากลิเบียและอิหร่าน แต่เนื่องจากกิจกรรมของกลุ่มไม่ได้รับการสนับสนุนอย่างกว้างขวาง การดำเนินงานของกลุ่มเป็นเหตุให้รัฐบาลซูฮาร์โตส่งทหารเข้ามาปราบปรามอย่างรุนแรงจนเกิดการละเมิดสิทธิมนุษยชนในอาเจะห์เจะฮ์
 
ใน พ.ศ. 2539 รัฐบาลอินโดนีเซียประกาศว่ากิจกรรมของขบวนการอาเจะห์เจะฮ์เสรีในอาเจะห์เจะฮ์สิ้นสุดลงแล้วแต่การปราบปรามอย่างรุนแรงยังคงดำเนินต่อไป พ.ศ. 2542 มีการประกาศถอนกำลังทหารออกจากอาเจะห์เจะฮ์แต่ปรากฏว่ายังมีกองทหารราว 35,000 คนในอาเจะห์เจะฮ์ในสมัยรัฐบาลของนาง[[เมกาวตี ซูการ์โนบุตรี]]เมื่อ พ.ศ. 2545 คาดการณ์ว่ามีผู้เสียชีวิตจากความขัดแย้งนี้ถึง 15,000 คน
 
== การเจรจาสันติภาพ ==
ผู้นำของขบวนการอาเจะห์เจะฮ์เสรีที่สำคัญรวมทั้ง ฮะซัน ดี ติโร ได้ลี้ภัยทางการเมืองไปอยู่[[สวีเดน]] กลุ่มนี้เริ่มเจรจาสันติภาพกับรัฐบาลเมื่อราว พ.ศ. 2533 โดยการประสานงานของรัฐบาลสวีเดน ใน พ.ศ. 2542 ขบวนการอาเจะห์เสรีเจะฮ์เสรี แตกแยกออกเป็นสองกลุ่ม คือกลุ่มดั้งเดิม (มีอีกชื่อหนึ่งว่าแนวร่วมปลดปล่อยชาติอาเจะห์เจะฮ์แห่งสุมาตรา) และกลุ่มสภาแห่งรัฐขบวนการอาเจะห์เสรีเจะฮ์เสรี ในช่วง พ.ศ. 2545 – 2547 ขบวนการถูกรัฐบาลปราบปรามอย่างหนัก ผู้นำคนสำคัญ เช่น อับดุลลอหฺ ไซเฟอีย์ ถูกสังหาร เมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. 2545
 
ความเสียหายที่เกิดขึ้นเนืองจากเหตุการณ์คลื่น[[สึนามิ]]เมื่อ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2547 ทำให้ขบวนการอาเจะห์เจะฮ์เสรีประกาศสงบศึกเมื่อ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2547 และยอมรับความช่วยเหลือจากรัฐบาลอินโดนีเซีย หลังจากนั้นได้มีการประชุมเจรจาสันติภาพระหว่างกันเมื่อ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 <ref>Billon, P, Waizenegger,''Peace in the wake of disaster? Secessionist conflicts and the 2004 Indian Ocean tsunami''Blackwell Publishing A </ref>ที่ประเทศฟินแลนด์และมีการลงนามในสนธิสัญญาสันติภาพเมื่อ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2548 โดยรัฐบาลอินโดนีเซียยอมถอนกำลังทหารและตำรวจที่ไม่ใช่ของท้องถิ่นออกไปภายในสิ้นปี พ.ศ. 2548 และนิโทษกรรมนิรโทษกรรมให้สมาชิกขบวนการอาเจะห์เจะฮ์เสรีราว 500 คนที่ลี้ภัยไปอยู่ต่างประเทศ และปล่อยสมาชิกอีกราว 1,400 คนที่ถูกฝ่ายรัฐบาลคุมขัง ยอมให้มีการตั้งพรรคการเมืองท้องถิ่นขึ้นในอาเจะห์เจะฮ์ ต่อมา 27 ธันวาคม พ.ศ. 2548 ผู้นำของขบวนการอาเจะห์เจะฮ์เสรีประกาศยกเลิกกองกำลังติดอาวุธ โดยประกาศจะเข้าร่วมกิจกรรมในสังคมเพื่อสร้างสันติภาพ
 
ในการเลือกตั้งเมื่อ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2549 ขบวนการอาเจะห์เสรี เจะฮ์เสรีแตกออกเป็นสองส่วน และต่างส่งผู้สมัครของตนเองลงรับเลือกตั้ง ทั้งนี้ อิรวันดี ยูซุฟที่เคยเป็นผู้เจรจาของขบวนการอาเจะห์เจะฮ์เสรีได้รับการเลือกตั้ง
 
== อ้างอิง ==