ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กรมหลวงเทวินทรสุดา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 15:
|}}
 
'''กรมหลวงเทวินทรสุดา''' หรือ '''กรมหลวงเทพินทรสุดา''' เป็นสมเด็จพระมาตุจฉาใน[[สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี]] มีนามเดิมว่า '''อั๋น''' หรือ '''ฮั้น'''<ref name="ส่อน"/> สันนิษฐานว่าเป็นธิดาของขุนนางในรัชสมัย[[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ]] แห่ง[[กรุงศรีอยุธยา]]<ref>{{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง=ธำรงศักดิ์ อายุวัฒนะ|ชื่อหนังสือ=ราชสกุลจักรีวงศ์ และราชสกุลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช|URL=|จังหวัด=กรุงเทพ|พิมพ์ที่=สำนักพิมพ์บรรณกิจ|ปี= พิมพ์ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2544
| ISBN = 974-222-648-2|หน้า=หน้าที่|จำนวนหน้า=490}}</ref> เป็นน้องสาวของ คุณนกเอี้ยง (ต่อมาคือ [[กรมพระเทพามาตย์ (นกเอี้ยง)|กรมพระเทพามาตย์]] พระราชชนนีของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี) สันนิษฐานว่าพระองค์อาจมีเชื้อสายจีนแซ่โหงว<ref name="นก">สุทธิศักดิ์ ระบอบ สุขสุวานนท์. สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี "ลูกจีนกู้ชาติ" ในประวัติศาสตร์การเมืองไทย. ใน''ศิลปวัฒนธรรม.'', หน้า 104</ref> และมีถิ่นฐานเดิมอยู่[[อำเภอบ้านแหลม|บ้านแหลม]] เขต[[จังหวัดเพชรบุรี]]<ref name="เอี้ยง">สุทธิศักดิ์ ระบอบ สุขสุวานนท์. สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี "ลูกจีนกู้ชาติ" ในประวัติศาสตร์การเมืองไทย. ใน''ศิลปวัฒนธรรม.'', หน้า 105</ref> และได้อพยพเข้ามาพำนักอยู่ในกรุงศรีอยุธยาเป็นเวลาช้านาน<ref name="เอี้ยง"/> เมื่อสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี เสด็จเถลิงถวัลย์ราชสมบัติแล้ว ได้ทรงสถาปนาคุณอั๋น ขึ้นทรงกรมเป็น '''กรมหลวงเทวินทรสุดา'''
 
ทั้งนี้พระองค์เสกสมรสกับใคร หรือพระภัสดาเสียชีวิตไปก่อนหน้า นั้น ไม่เป็นที่ปรากฏ<ref>นิธิ เอียวศรีวงศ์. ''การเมืองไทยสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี''. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ : มติชน, 2548, หน้า 115</ref> ครั้นเมื่อสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี เสด็จเถลิงถวัลย์ราชสมบัติแล้ว ได้ทรงสถาปนาคุณอั๋น ขึ้นทรงกรมเป็น '''กรมหลวงเทวินทรสุดา''' บางแห่งออกพระนามว่า '''กรมหลวงเทพินทรสุดา'''
 
เมื่อเกิดการผลัดแผ่นดินสิ้นรัชสมัยสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี พระองค์ได้รับโปรดเกล้าฯ ลดพระยศเป็น "หม่อมอั๋น" ด้วยเป็นพระบรมวงศานุวงศ์ฝ่ายหญิงก็จึงต้องโทษจองจำไว้ ขณะที่พระบรมวงศานุวงศ์ที่เป็นชายมักถูกประหารพร้อมกับขุนนาง<ref>ปรามินทร์ เครือทอง. ''กบฏเจ้าฟ้าเหม็น''. พิมพ์ครั้งที่ 3 (ปรับปรุง). กรุงเทพฯ:มติชน. 2555, หน้า 61</ref> ดังปรากฏในพระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา ความว่า