ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อโลหะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘(?mi)\{\{Link GA\|.+?\}\}\n?’ ด้วย ‘’: เลิกใช้ เปลี่ยนไปใช้วิกิสนเทศ
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
ในวิชาเคมี '''อโลหะ'''เป็น[[ธาตุเคมี]]ซึ่งส่วนมากขาดคุณสมบัติของ[[โลหะ]] ทางกายภาพ อโลหะมัก[[การกลายเป็นไอ|กลายเป็นไอ]] (ระเหย) ง่าย มีความยืดหยุ่นต่ำ และเป็นฉนวนความร้อนและไฟฟ้าที่ดี ในทางเคมี ธาตุเหลานี้มักมี[[พลังงานไอออไนเซชัน]]และค่า[[อิเล็กโตรเนกาทิวิตี]] (electronegativity) สูง และให้หรือได้อิเล็กตรอนเมื่อทำปฏิกิริยากับธาตุหรือสารประกอบอื่น มีสิบเจ็ดธาตุที่จัดเป็นอโลหะโดยทั่วไป ส่วนมากเป็นแก๊ส ([[ไฮโดรเจน]] [[ฮีเลียม]] [[ไนโตรเจน]] [[ออกซิเจน]] [[ฟลูออรีน]] [[นีออน]] [[คลอรีน]] [[อาร์กอน]] [[คริปทอน]] [[ซีนอน]]และ[[เรดอน]]) หนึ่งธาตุเป็นของเหลว ([[โบรมีน]]) และส่วนน้อยเป็นของแข็ง ([[คาร์บอน]] [[ฟอสฟอรัส]] [[กำมะถัน]] [[เซเลเนียม]]และ[[ไอโอดีน]])
{{รอการตรวจสอบ}}
'''อโลหะ''' ({{lang-en|nonmetal, non-metal}}) คือ [[ธาตุเคมี|ธาตุ]]ที่มีคุณสมบัติต่างจาก[[โลหะ]]และ[[ธาตุกึ่งโลหะ]] ในด้านการแตกตัวของไอออน (ionization) และการดึงดูดระหว่างอะตอม (bonding properties)
 
ธาตุอโลหะมีโครงสร้างซึ่งมี[[เลขโคออร์ดิเนชัน]] (อะตอมเพื่อนบ้านใกล้ที่สุด) น้อยลงเรื่อย ๆ เมื่อเลื่อนไปทางขวามือของ[[ตารางธาตุ]]แบบมาตรฐาน อโลหะหลายอะตอมมีโครงสร้างที่มีอะตอมเพื่อนบ้านใกล้ที่สุดสามอะตอม เช่นในกรณีของคาร์บอน (ในสถานะมาตรฐานกราฟีน) หรือสองอะตอม เช่นในกรณีของกำมะถัน อโลหะสองอะตอม เช่น ไฮโดรเจน มีอะตอมเพื่อนบ้านใกล้ที่สุดหนึ่งอะตอม และ[[แก๊สมีตระกูล]]อะตอมเดียว เช่น ฮีเลียม ไม่มีอะตอมเพื่อนบ้านใกล้ที่สุด ยิ่งมีจำนวนอะตอมเพื่อนบ้านใกล้ที่สุดน้อยลงเท่าใดยิ่งสัมพันธ์กับการลดลงของความเป็นโลหะและเพิ่มความเป็นอโลหะมากขึ้นเท่านั้น แต่ข้อแตกต่างระหว่างอโลหะสามหมวดในแง่ของความเป็นโลหะที่ลดนั้นไม่สัมบูรณ์ มีขอบเขตทับซ้อนกันเมื่อธาตุรอบนอกในแต่ละหมวดแสดง (หรือเริ่มแสดง) คุณสมบัติที่ต่างกันน้อย คล้ายลูกผสมหรือไม่ตรงแบบ
อโลหะทุกตัวจะมีประจุไฟฟ้าเป็นลบ (highly electronegative) โดยการรับ[[อิเล็กตรอน]] (valence electrons) จากอะตอมของธาตุอื่น
 
อโลหะเป็น[[อนุกรมเคมี]]ใน[[ตารางธาตุ]] ประกอบด้วย
* ธาตุในกลุ่ม[[แฮโลเจน]]
* ธาตุในกลุ่ม[[ก๊าซมีตระกูล]]
* ธาตุต่อไปนี้
** [[ไฮโดรเจน]] (hydrogen - H)
** [[คาร์บอน]] (carbon - C)
** [[ไนโตรเจน]] (nitrogen - N)
** [[ออกซิเจน]] (oxygen - O)
** [[ฟอสฟอรัส]] (phosphorus - P)
** [[กำมะถัน]] (sulfur - S)
** [[ซีลีเนียม]] (selenium - Se)
 
โดยทั่วไป อโลหะมีสมบัติตรงข้ามกับโลหะ ได้แก่
 
; ทางกายภาพ
* อโลหะเป็น [[ฉนวน]]ไฟฟ้า หรือ กึ่งตัวนำไฟฟ้า (ขณะที่ โลหะเป็นตัวนำไฟฟ้า) ยกเว้น [[คาร์บอน]]ในอัญรูป แกรไฟต์
* อโลหะเป็น ฉนวนความร้อน
* อโลหะมี[[จุดหลอมเหลว]]ได้หลากหลาย กล่าวคีอมีหลายสถานะ (ขณะที่ โลหะส่วนใหญ่ ที่เป็น[[สารบริสุทธิ์]] มีจุดหลอมเหลวสูง กล่าวคือเป็น[[ของแข็ง]] ที่ [[STP]] ยกเว้น [[ปรอท]])
 
* ด้านชนิดและปริมาณ อโลหะ มีจำนวนชนิดน้อยกว่าคือเพียง 22 ชนิด (ขณะที่ โลหะมีมากกว่า 80 ชนิด) แต่สสารใน[[โลก]]มีปริมาณธาตุองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นอโลหะ ทั้ง[[เปลือกโลก]], [[บรรยากาศ]], [[พื้นน้ำ]] และ [[สิ่งมีชีวิต]] ล้วนมีธาตุองค์ประกอบเกือบทั้งหมดเป็นอโลหะ
 
; ทางเคมี
* อโลหะแตกตัวในสารละลาย ให้[[ประจุ]]ลบ
* อโลหะมีคุณสมบัติความวาวและความด้านที่หลากหลาย (ขณะที่ โลหะบริสุทธิ์มีความวาวแบบโลหะ)
* ในการทำปฏิกิริยา[[ออกซิเดชัน-รีดักชัน]] อโลหะเป็นตัว[[ออกซิไดซ์]]ที่ดี กล่าวคือทำหน้าที่รับอิเล็กตรอน (ขณะที่ โลหะเป็นตัว[[รีดิวซ์]]ที่ดี กล่าวคือทำหน้าที่ให้อิเล็กตรอน)
* [[ออกไซด์]]ของอโลหะ ส่วนใหญ่เป็น[[กรด]]
 
* อโลหะส่วนมาก มี[[วาเลนซ์]]เพียง 2 [[อะตอม]] (diatomic) อโลหะที่เหลือ มีวาเลนซ์หลายอะตอม (polyatomic) อโลหะที่มีวาเลนซ์ 2 อะตอม ได้แก่
** [[ไฮโดรเจน]] (hydrogen - H)
** [[คาร์บอน]] (carbon - C)
** [[ไนโตรเจน]] (nitrogen - N)
** [[ออกซิเจน]] (oxygen - O)
 
แม้ว่าธาตุโลหะมีมากกว่าอโลหะห้าเท่า แต่ธาตุอโลหะสองธาตุ ไฮโดรเจนและฮีเลียม ประกอบเป็นร้อยละ 99 ของเอกภพที่สังเกตได้ และหนึ่งธาตุ ออกซิเจน ประกอบเป็นเกือบครึ่งหนึ่งของเปลือกโลก มหาสมุทรและบรรยากาศของโลก สิ่งมีชีวิตยังประกอบด้วยอโลหะแทบทั้งหมด และธาตุอโลหะก่อสารประกอบมากกว่าโลหะมาก
 
{{ตารางธาตุ}}
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/อโลหะ"