ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จักรพรรดิขาย ดิ่ญ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
{{กล่องข้อมูล เชื้อพระวงศ์
| พระปรมาภิไธย = สมเด็จพระจักรพรรดิขาย ดิ่ญ
เส้น 22 ⟶ 23:
}}
'''สมเด็จพระจักรพรรดิขาย ดิ่ญ''' ({{lang-vi|Khải Định}}, [[จื๋อโนม]]: 啟定; [[8 ตุลาคม]] [[ค.ศ. 1885]] – [[6 พฤศจิกายน]] [[ค.ศ. 1925]]) ทรงเป็นจักรพรรดิองค์ที่ 12 ของ[[ราชวงศ์เหงียน]]ใน[[เวียดนาม]] ขึ้นครองราชย์ตั้งแต่ปี [[ค.ศ. 1916]] ถึง [[ค.ศ. 1925]] ทรงมีพระนามเดิมว่า เจ้าชายเหงียน ฟุก บื๋ว ด๋าว ({{lang|vi|Nguyễn Phúc Bửu Đảo, 阮福寶嶹}}) ทรงเป็นพระราชโอรสของ[[:en:Đồng Khánh|สมเด็จพระจักรพรรดิด่ง คั้ญ]] แต่พระองค์ไม่ได้สืบทอดราชสมบัติโดยทันที
[[Imageไฟล์:Emperor Khai Dinh 1916.jpg|thumb|left|จักรพรรดิขาย ดิ่ญ ขณะทรงกำลังศึกษาเล่าเรียน (ค.ศ. 1916)]]
[[Imageไฟล์:Roi-Khai-Dinh.jpg|thumb|left|จักรพรรดิขาย ดิ่ญ ในปี ค.ศ.1916]]
__TOC__
 
เส้น 32 ⟶ 33:
 
ด้วยเหตุนี้ พระองค์จึงไม่ทรงเป็นที่นิยมในหมู่ประชาชนชาวเวียดนามเท่าไหร่นัก [[:en:Phan Chu Trinh|ฟาน จู จิญ]] ผู้นำชาตินิยมกล่าวหาพระองค์ว่าได้ทรงขายชาติให้กับฝรั่งเศสและประทับอยู่ในพระราชวังอย่างหรูหราในขณะที่ประชาชนถูกเอาเปรียบโดยฝรั่งเศส เหงียน อ๊าย โกว๊ก (เป็นที่รู้จักในภายหลังคือ [[โฮจิมินห์]]) ได้เขียนเรื่องเล่น ๆ เกี่ยวกับพระองค์เรื่อง "มังกรไม้ไผ่" ซึ่งเยาะเย้ยพระองค์ว่าพระองค์ทรงมีความยิ่งใหญ่ทางสัญลักษณ์เชิงพิธี แต่ก็เป็นแค่หุ่นเชิดไร้อำนาจของรัฐบาลฝรั่งเศสเท่านั้น การเสด็จเยือนฝรั่งเศสของพระองค์ในปี [[ค.ศ. 1922]] เพื่อเยี่ยมชมนิทรรศการอาณานิคมมาร์แซย์ ก็ยังถูกเสียดสีโดยผู้นำชาตินิยม ผู้ซึ่งเกลียดชังสถานะของเวียดนามที่กลายเป็นเมืองขึ้นฝรั่งเศสและไม่เห็นว่าจะมีอะไรที่น่าจัดแสดงในงานนิทรรศการ
[[Imageไฟล์:7tien.jpg|thumb|285px|มังกรบิน ''ฟีล็อง'' (เหรียญ) ในรัชศกขาย ดิ่ญ]]
 
ความไม่นิยมพระองค์มาถึงจุดเดือดในปี [[ค.ศ. 1923]] เมื่อพระองค์ได้ทรงอนุญาตให้ฝรั่งเศสเพิ่มภาษีชาวนาซึ่งส่วนหนึ่งจะนำมาใช้เป็นค่าก่อสร้างหลุมฝังพระศพของพระองค์ ส่งผลให้เกิดความยากลำบากอย่างใหญ่หลวง นอกจากนี้พระองค์ยังได้ทรงลงพระนามในคำสั่งของการจับกุมกับผู้นำชาตินิยมจำนวนมาก เช่น [[:en:Phan Bội Châu|ฟาน โบ่ย เจิว]] เป็นต้น ทำให้พวกเขาต้องลี้ภัยและมีผู้สนับสนุนถูกประหารชีวิตจำนวนมาก