ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์รวันดา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{Infobox civilian attack
| title = การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์รวันดา
| image = Nyamata Memorial Site 13.jpg{{!}}border
| image_size = 300px
| caption = กะโหลกมนุษย์ที่อนุสรณ์สถานพันธุฆาตนยามาตา (Nyamata)
| location = [[ประเทศรวันดา]]
| target = ประชากรทุตซี
| date = 7 เมษายน {{spaced ndash}}15 กรกฎาคม 2537
| type = [[พันธุฆาต]], [[การสังหารหมู่]]
| fatalities = 500,000–1,000,000 คน<ref name="Death Toll">See, e.g., [http://news.bbc.co.uk/1/hi/world/africa/1288230.stm Rwanda: How the genocide happened], [[BBC]], April 1, 2004, which gives an estimate of 800,000, and [http://www.un.org/ecosocdev/geninfo/afrec/subjindx/121rwan.htm OAU sets inquiry into Rwanda genocide], Africa Recovery, Vol. 12 1#1 (August 1998), p. 4, which estimates the number at between 500,000 and 1,000,000. Seven out of every 10 Tutsis were killed.</ref>
| perps = รัฐบาลที่ฮูตูนำ, ทหารอาสาสมัครอินเตราฮัมเว (Interahamwe) และอิมปูซูมูกัมบิ (Impuzamugambi)
}}
'''การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์รวันดา'''เป็นการสังหารหมู่[[พันธุฆาต]]ทุตซี (Tutsi) และฮูตู (Hutu) สายกลางใน[[ประเทศรวันดา]] โดยสมาชิกรัฐบาลฝ่ายข้างมากฮูตู ระหว่างสมัยประมาณ 100 วันตั้งแต่วันที่ 7 เมษายนถึงกลางเดือนกรกฎาคม 2537 มีชาวรวันดาประมาณ 501,000–1,000,000 คนเสียชีวิต ซึ่งเป็น 70% ของชาวทุตซี และ 20% ของประชากรรวมของรวันดา สมาชิกอภิชนการเมืองแกนกลางที่เรียก อะคะซุ (akazu) วางแผนพันธุฆาตนี้ ซึ่งหลายคนนั่งตำแหน่งระดับสูงสุดของรัฐบาลแห่งชาติ ผู้ก่อการมาจากทหารในกองทัพรวันดา ตำรวจแห่งชาติ (ก็องดาร์เมอรี) ทหารอาสาสมัครที่รัฐบาลสนับสนุน ซึ่งมีอินเตราฮัมเว (Interahamwe) และอิมปูซูมูกัมบิ (Impuzamugambi) และประชากรพลเรือนฮูตู