ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระราเมศวร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
| image = [[ไฟล์:King Ay02 Ramesuan.jpg|246px]]
| พระบรมนามาภิไธย = พระราเมศวร
| พระราชสมภพ = [[พ.ศ. 1875|พ.ศ. 18751882]]
| สวรรคต = [[พ.ศ. 1938|พ.ศ. 1938]]<br>สิริรวมพระชนมายุ 6356 พรรษา
| พระพุทธปฏิมาประจำรัชกาล = [[พระพุทธรูป]][[ปางพระเกศาธาตุ]] ณ หอราชกรมานุสรณ์
| พระอิสริยยศ = พระมหากษัตริย์แห่ง[[อาณาจักรอยุธยา]]
| พระราชชนก = [[สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1]]
| พระราชชนนี = พระมเหสีไม่ปรากฏพระนาม<br>(พระขนิษฐาใน[[สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1]])
| พระมเหสี =
| พระราชสวามี =
บรรทัด 21:
| วัดประจำรัชกาล =
}}
 
{{ความหมายอื่น|สมเด็จพระราเมศวร|พระราเมศวรพระองค์อื่น|พระราเมศวร}}
'''สมเด็จพระราเมศวร''' (พ.ศ. 1882 - พ.ศ. 1938) เป็น[[พระมหากษัตริย์ไทย]] รัชกาลที่ 2 แห่ง[[อาณาจักรอยุธยา]] เป็นพระราชโอรสองค์ใหญ่ของใน[[สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1]] กับพระมเหสีซึ่งเป็นพระขนิษฐาของใน[[สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1]] ผู้ครอง[[อำเภอเมืองสุพรรณบุรี|เมืองสุพรรณบุรี]] เสด็จพระราชสมภพใน [[พ.ศ. 1875|พ.ศ. 1875]]

พระองค์ทรงขึ้นครองราชย์ได้เพียงปีเดียวก็สละราชสมบัติให้[[สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1]] ผู้เป็นพระมาตุลา และเสด็จขึ้นครองราชสมบัติอีกครั้งภายหลังการสำเร็จโทษ[[สมเด็จพระเจ้าทองลัน]] พระราชโอรสของสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 ที่เสด็จขึ้นครองราชสมบัติได้เพียง 7 วัน
 
แม้พระองค์จะเป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงประหารพระญาติของพระองค์เพื่อแย่งชิงราชสมบัติ แต่พระองค์ก็ทรงสร้างคุณูปการต่อ[[กรุงศรีอยุธยา]]ไว้หลายประการ ไม่ว่าจะด้าน[[ศาสนาพุทธ|พระศาสนา]]หรือการสงคราม ซึ่งพระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ที่ควรยกย่องเชิดชูพระเกียรติที่ทรงปกครองบ้านเมืองให้อยู่อย่างร่มเย็นเป็นสุขโดยที่ไม่มีเมืองต่างๆมารุกราน พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงขยายอาณาเขตให้อาณาจักรอยุธยายิ่งใหญ่ พระองค์ยังทรงทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาอยู่ตลอดเวลา แม้เวลาส่วนมากจะทำศึกสงคราม
 
== พระราชประวัติ ==
 
สมเด็จพระราเมศวร เสด็จพระราชสมภพในปี พ.ศ. 1882<ref name="นามา53">''นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย'', หน้า 53</ref> เป็นพระราชโอรสใหญ่ของใน[[สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1]] (พระเจ้าอู่ทอง) ที่ประสูติแต่พระมเหสีซึ่งเป็นพระกนิษฐาของใน[[ขุนหลวงพะงั่ว]] (ต่อมา คือ สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1]] (พระมหากษัตริย์พระองค์รัชกาลที่ 3 แห่งกรุงศรีอยุธยา) เดิมมีพระอิสริยยศเป็น''สมเด็จพระเจ้าลูกเธอพระราเมศวร'' เมื่อ[[สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1]] ทรงสถาปนากรุงศรีอยุธยา พระองค์ได้โปรดเกล้าฯ ให้พระราเมศวรไปปกครองครองราชสมบัติใน[[อำเภอเมืองลพบุรี|เมืองลพบุรี]]ซึ่งเป็น[[เมืองลูกหลวง]]และเป็นเมืองหน้าด่านทางด้านตะวันออกของ<ref name="พันจัน38">''พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)'', หน้า 38</ref>
 
หลังจากสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 เสด็จสวรรคตในปี [[พ.ศ. 1912|พ.ศ. 1912]] พระองค์ทรงขึ้นจึงเสด็จฯ จากเมืองลพบุรีมาเสวยราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์รัชกาลที่ 2 แห่งกรุงศรีอยุธยาเมื่อ<ref name="พันจัน42">''พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)'', หน้า 42</ref> ขณะนั้นมีพระชนมายุได้ 37 พรรษา แต่พระองค์ทรงครองราชสมบัติได้เพียงปีเดียว ขุนหลวงพะงั่วสมเด็จพระมาตุลาในพระองค์ทรงบรมราชาธิราชเจ้าก็ยกกองทัพมาทัพจาก[[เมืองสุพรรณบุรี]]ประชิด[[กรุงศรีอยุธยา]]เข้ามา พระองค์จึงออกไปรับเสด็จฯ เข้าพระนคร แล้วถวายราชสมบัติให้ครองกรุงศรีอยุธยาแทน ส่วนพระองค์กลับไปครองเมืองลพบุรีดังเดิม<ref name="พันจัน43">''พระมาตุลาขึ้นเป็นสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ 1(เจิม)'', หน้า 43</ref>
 
ภายหลังสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 เสด็จสวรรคตในปี [[พ.ศ. 1931|พ.ศ. 1931]] [[สมเด็จพระเจ้าทองลัน]] พระราชโอรสในสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1เจ้า เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นกษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยาได้เพียง 7 วัน สมเด็จพระราเมศวรได้ยกพลมาแต่จากเมืองลพบุรีและมายึดกรุงศรีอยุธยา โปรดให้สำเร็จโทษสมเด็จพระเจ้าทองลัน ณ [[วัดโคกพระยา]]<ref name="พันจัน46">''พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)'', หน้า 46</ref> แล้วขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยาเป็นครั้งที่ 2 เมื่อขณะมีพระชนมายุได้ 5649 พรรษา<ref และให้สำเร็จโทษสมเด็จพระเจ้าทองลันเสียname="นามา53"/>
 
สมเด็จพระราเมศวรเสด็จสวรรคตในปี [[พ.ศ. 1938|พ.ศ. 1938]] เย็นวันหนึ่งสมเด็จพระราเมศวรเสด็จไปพระที่นั่งมังคลาภิเษก ระหว่างทางมีวิญญาณของท้าวมลมาปรากฏนั่งขวางทางเสด็จอยู่แล้วหายไป พระองค์ก็สวรรคต<ref name="พันจัน48">''พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)'', หน้า 48</ref> สิริพระชนมายุ 6356 พรรษา<ref name="นามา54">''นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย'', หน้า 54</ref> ทรงครองราชสมบัติรวม 2 ครั้งเป็นระยะเวลา 8 ปี โดย[[สมเด็จพระรามราชาธิราช]] พระราชโอรสของพระองค์ได้เสด็จขึ้นครองสืบราชสมบัติ
 
==พระราชกรณีกิจ==
===ราชการสงคราม===
เมื่อปี [[พ.ศ. 1895|พ.ศ. 1895]] ขณะที่พระองค์ยังทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระเจ้าลูกเธอในสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 อยู่นั้น สมเด็จพระราชบิดาโปรดให้เชิญพระองค์ลงมาจากเมืองลพบุรีและตรัสว่า[[ขอม]]แปรพักตร์ต้องปราบปรามเสีย จึงโปรดให้พระองค์ยกพล 50005,000 ไปยัง[[เมืองนครธม]]แห่ง[[กรุง|กัมพูชาธิบดี]] พระยาอุปราชพระราชโอรสใน[[พระบรมลำพงษ์ราชา]] พระเจ้ากรุงกัมพูชาธิบดี ได้เข้าโจมตีทัพหน้าของกรุงศรีอยุธยาจนแตกพ่าย แล้วจึงเข้าปะทะกับทัพหลวงต่อ เมื่อความทราบถึงสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 พระองค์จึงมีพระราชโองการให้ขุนตำรวจออกไปเชิญ[[สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1|สมเด็จพระบรมราชาธิราช]]ที่เจ้าที่ประทับอยู่ ณ [[เมืองสุพรรณบุรี]] ขึ้นไปทำศึกช่วยพระราเมศวร การศึกดำเนินไปเป็นระยะเวลา 1 ปีโดยประมาณ จึงสามารถเอาชนะกรุงกัมพูชาธิบดีได้สำเร็จและได้กวาดต้อนครัวชาวกัมพูชาธิบดีเข้ามายังอยู่กรุงศรีอยุธยาเป็นจำนวนมาก<ref name="พันจัน38"/>
 
หลังจากที่พระองค์เสด็จขึ้นครองราชสมบัติในครั้งที่ 2 แล้วนั้น พระองค์ทรงทำสงครามแผ่ขยายราชอาณาเขต[[กรุงศรีอยุธยา]]ออกไปยังหัวเมืองทางตอนเหนือและแถบเมืองกัมพูชา ดังนี้
 
====สงครามกับเมืองเชียงใหม่====
 
เมื่อปี [[พ.ศ. 1933|พ.ศ. 1933]] พระองค์ทรงยกกองทัพขึ้นไปยัง[[เวียงเชียงใหม่|เมืองเชียงใหม่]] ในชั้นแรกนั้นพระเจ้าเชียงใหม่ได้ขอสงบศึก โดยขอเวลา 7 วันแล้วจะนำเครื่องราชบรรณาการมาถวายเพื่อเจริญพระราชไมตรี ในการนี้มุขมนตรีนายทัพนายกองได้ปรึกษาหารือว่า อาจจะเป็นกลอุบายของพระเจ้าเชียงใหม่เพื่อจะได้เตรียมการรับมือกองทัพของกรุงศรีอยุธยา แต่พระองค์ตรัสว่าเมื่อเขาไม่รบแล้วเราจะรบนั้นดูมิบังควรและถึงแม้ว่าพระเจ้าเชียงใหม่จะไม่รักษาสัตย์ก็ใช่ว่าจะสามารถรอดพ้นจากทหารของกรุงศรีอยุธยาไปได้ เมื่อผ่านไป 7 วัน พระเจ้าเชียงใหม่ไม่ได้นำเครื่องราชบรรณาการมาถวาย พระองค์จึงยกกำลังเข้าตีเมืองเชียงใหม่ เจ้าเมืองเชียงใหม่ต้านไม่ได้จึงหนีออกไป แต่สามารถจับนักสร้างพระโอรสพระเจ้าเชียงใหม่ได้ พระองค์ทรงพระกรุณาให้นักสร้างขึ้นครองราชสมบัติอยู่ ณ เมืองเชียงใหม่ และได้กวาดต้อนผู้คนลงมาทางใต้โดยให้ไปอยู่ที่[[อำเภอเมืองจันทบุรี|เมืองจันทบูร]] [[อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช|เมืองนครศรีธรรมราช]] [[อำเภอเมืองพัทลุง|เมืองพัทลุง]] และ[[อำเภอเมืองสงขลา|เมืองสงขลา]]<ref name="พันจัน47">''พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)'', หน้า 47</ref>
 
เมื่อผ่านไป 7 วัน พระเจ้าเชียงใหม่ไม่ได้นำเครื่องราชบรรณาการมาถวาย พระองค์จึงยกกำลังเข้าตีเมืองเชียงใหม่ เจ้าเมืองเชียงใหม่ต้านไม่ได้จึงหนีออกไป แต่สามารถจับนักสร้างพระโอรสพระเจ้าเชียงใหม่ได้ พระองค์ทรงพระกรุณาให้นักสร้างขึ้นครองราชสมบัติอยู่ ณ เมืองเชียงใหม่ และได้กวาดต้อนผู้คนลงมาทางใต้โดยให้ไปอยู่ที่[[เมืองจันทบูร]] [[เมืองนครศรีธรรมราช]] [[เมืองพัทลุง]] และ[[เมืองสงขลา]] ทำให้ชาวเหนือและชาวใต้มีวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมที่ใกล้เคียงกัน
 
====สงครามกับเมืองกัมพูชาธิบดี====
 
หลังจากที่เสด็จกลับจากการทำศึก ณ เมืองเชียงใหม่แล้ว พระองค์ได้ทรงทำศึกกับเมืองกัมพูชาธิบดีอีกครั้ง เนื่องจากพระยากัมพูชาได้ยกทัพมายัง[[อำเภอเมืองชลบุรี|เมืองชลบุรี]]และกวาดต้อนผู้คนชาวเมืองจันทบุรีและเมืองชลบุรีไปยังเมืองกัมพูชาธิบดีประมาณ 6,000 - 7,000 คน ด้วยเหตุนี้ พระองค์จึงยกกองทัพไปยังเมืองกัมพูชาธิบดีอีกครั้ง โดยโปรดเกล้า ฯ ให้พระยาไชยณรงค์เป็นแม่ทัพหน้า เมื่อตี[[นครธม|เมืองพระนคร]]ได้แล้ว พระยากัมพูชาได้ลงเรือหลบหนีไป แต่สามารถจับพระยาอุปราชพระราชโอรสของพระยากัมพูชาได้<ref name="พันจัน47"/> และโปรดเกล้าฯ ให้พระยาไชยณรงค์อยู่รั้งเมืองกัมพูชาธิบดีพร้อมกำลังพล 5,000 คน ต่อมา [[ญวน]]ยกกำลังมารบ พระองค์จึงให้พระยาไชยณรงค์กวาดต้อนผู้คนมายัง[[กรุงศรีอยุธยา<ref name="พันจัน48"/>
 
===การพระศาสนา===
 
หลังจากศึก ณ เมืองเชียงใหม่เสร็จสิ้น พระองค์เสด็จยัง[[อำเภอเมืองพิษณุโลก|เมืองพิษณุโลก]] ในการนี้พระองค์เสด็จนมัสการ[[พระพุทธชินราช (พิษณุโลก)|พระพุทธชินราช]]และเปลื้องเครื่องต้นทำสักการบูชาสมโภช 7 วัน แล้วจึงเสด็จกลับกรุงศรีอยุธยา สำหรับการพระพุทธศาสนาภายในกรุงศรีอยุธยานั้น พระองค์โปรดให้สถาปนาพระมหาธาตุสูง 17 วา ยอดสูง 3 วา ณ บริเวณที่พระองค์ทอดพระเนตรเห็น[[พระบรมสารีริกธาตุ]]แสดงปาฎิหารย์ โดยพระราชทานชื่อว่า [[วัดมหาธาตุ พระนครศรีอยุธยา|วัดพระมหาธาตุ]]<ref name="พันจัน47"/> นอกจากนี้ พระองค์ยังโปรดให้สถาปนา[[วัดภูเขาทอง]]ขึ้นเมื่อปี [[พ.ศ. 1930]]<ref name="พันจัน48"/>
 
== ราชตระกูล ==
เส้น 88 ⟶ 87:
</center>
 
== รายการอ้างอิง ==
; เชิงอรรถ
{{รายการอ้างอิง|2}}
 
; บรรณานุกรม
* {{cite book
{{เริ่มอ้างอิง}}
| last =
* {{อ้างหนังสือ | ผู้แต่ง = มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา | ชื่อหนังสือ = นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย | url = http://www.sac.or.th/main/pdf/Thai_king_directories.pdf| พิมพ์ที่ = มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา | จังหวัด = กรุงเทพฯ | ปี = 2554 | ISBN = 978-616-7308-25-8| จำนวนหน้า = 264}}
| first =
* {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = | ชื่อหนังสือ = พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น| จังหวัด = นนทบุรี| พิมพ์ที่ = ศรีปัญญา| ปี = 2553| ISBN = 978-616-7146-08-9| จำนวนหน้า = 800}}
| authorlink =
{{จบอ้างอิง}}
| title = [[พระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา]]
| publisher = สำนักงานพิมพ์โอเดียนสโตร์
| series = [[สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ]] ทรงนิพนธ์อธิบายประกอบ
| year = พ.ศ. 2510
| doi =
| isbn =
}}
* {{cite book
| last =
| first =
| authorlink =
| title = [[พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์]]
| publisher = สำนักงานพิมพ์คลังวิทยา
| series =
| year = พ.ศ. 2510
| doi =
| isbn =
}}
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[ลำดับรายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย]]
 
 
{{เริ่มกล่อง}}
{{สืบตำแหน่ง
เส้น 142 ⟶ 128:
{{พระมหากษัตริย์ไทย}}
{{พระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา}}
{{เรียงลำดับ|ราเมศวร}}
 
{{เรียงลำดับ|ราเมศวร}}
[[หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1882]]
{{อายุขัย|1882|1938}}
[[หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา]]
[[หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ในราชวงศ์อู่ทอง]]
{{ประสูติปี|}} {{สิ้นพระชนม์ปี|1938}}