ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยฺหวิ่นเหริง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ponpan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{Infobox royalty
| name = อิ้นเหริงยฺหวิ่นเหริง <br> YinrengYunreng
| title =
| image = Crown Prince Yinreng.jpg
บรรทัด 7:
| predecessor =
| successor =
| reign = พ.ศ.1675–1708 2218–2251<br><small>(ครั้งที่หนึ่ง)</small><br>พ.ศ. 2252–22551709–1712<br><small>(ครั้งที่สอง)</small>
| reign-type = ดำรงตำแหน่ง
| succession2 =
บรรทัด 14:
| reign2 =
| reign-type2 =
| birth_date = 6 มิถุนายน [[พ.ศ. 2217]]1674
| birth_place =
| death_date = 27 มกราคม [[พ.ศ. 2267]]1725 ({{อายุปีและวัน|1674|6|6|1725|1|27}})
| death_place =
| burial_place =
บรรทัด 24:
| issue =
| house = [[ราชวงศ์ชิง|ชิง]]
| full name = อ้ายซินเจวี๋ยหลัวนเจว๋หลัว อิ้นเหริงอิ่นเหริง (愛新覺羅 胤礽)
| posthumous name =
}}
 
'''อิ้นเหริงยฺหวิ่นเหริง''' ({{zh-all|c=允礽|p=Yǔn rénréng}}; 6 มิถุนายน พ.ศ. 22171674 – 27 มกราคม พ.ศ.1725) 2267พระนามเดิมว่า '''อิ่นเหริง''' ({{Zh|c = 胤礽|p = Yìnréng}}) และพระนามแรกประสูติว่า '''เป่าเฉิง''' ({{Zh|c = 保成|p = Bǎochéng}}) เป็นเจ้าชายแมนจูแห่งใน[[ราชวงศ์ชิง]] และเป็นรัชทายาทสองสมัยในระหว่างปี 1675 ถึงปี 1712
 
== ประวัติ ==
อิ้นเหริงอิ่นเหริงเกิดในตระกูลแมนจู[[อ้ายซินเจว๋หลัว]] พระองค์เป็นพระโอรสองค์ที่เจ็ดของ[[จักรพรรดิคังซี]] แต่เป็นพระองค์ที่สองที่เติบโตจนเป็นผู้ใหญ่ พระองค์มีพระนามเดิมว่า "ป่าวเป่าเฉิง" (保成) และได้เปลี่ยนเป็น "อิ้นเหริง" (胤礽)อิ่นเหริง เมื่อมีพระชนมายุมากขึ้น พระราชมารดาของพระองค์คือ[[จักรพรรดินีเซี่ยวเฉิงเหริน]] สกุลเฮ่อเซ่อหลี่ ซึ่งเป็นหลานสาวของสั่วหนี (หนึ่งในคณะสำเร็จราชการของคังซี) พระนางสิ้นพระชนม์หลังจากมีประสูติกาลอิ้นเหริงได้ไม่นาน
 
พระราชมารดาของพระองค์คือ[[จักรพรรดินีเซี่ยวเฉิงเหริน]] สกุลเฮ่อเซ่อหลี่ ซึ่งเป็นหลานสาวของสั่วหนี (หนึ่งในคณะสำเร็จราชการของคังซี) พระนางสิ้นพระชนม์หลังจากมีประสูติกาลอิ่นเหริงได้ไม่นาน
จักรพรรดิคังซีได้ประกาศแต่งตั้งอิ้นเหริงเป็นรัชทายาทเมื่อพระองค์มีพระชนมายุได้หนึ่งพรรษา คังซีได้หาผู้มีความรู้มาอบรมสั่งสอนรัชทายาท ทำให้อิ้นเหริงเป็นผู้รอบรู้ทั้งภาษาฮั่นและภาษาแมนจู ในปี พ.ศ. 2239–2240 จักรพรรดิคังซียกทัพปราบเก๋อเอ่อตานข่าน อิ้นเหริงได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้สำเร็จราชการรักษานครปักกิ่ง แม้จะมีเรื่องอื้อฉาวและข้อกล่าวหาของการทุจริตและความอยุติธรรม พระองค์ยังคงอยู่ในความโปรดปรานของพระราชบิดา
 
จักรพรรดิคังซีได้ประกาศแต่งตั้งอิ่นเหริงเป็นรัชทายาทเมื่อพระองค์มีพระชนมายุได้หนึ่งพรรษา คังซีได้หาผู้มีความรู้มาอบรมสั่งสอนรัชทายาท ทำให้อิ่นเหริงเป็นผู้รอบรู้ทั้งภาษาฮั่นและภาษาแมนจู
ในปี พ.ศ. 2246 สั่วเอ้อถู (อาของจักรพรรดินีเซี่ยวเฉิงเหริน) ได้ถูกจับกุมด้วยข้อหาวางแผนลอบปลงพระชนม์และทุจริต เขาได้ถูกจำคุกและเสียชีวิตในเวลาต่อมา ทำให้อิ้นเหริงเริ่มมีความขัดแย้งกับพระราชบิดา ปี พ.ศ. 2251 อิ้นเหริงถูกกล่าวหาว่าผิดศีลธรรมทางเพศและใช้อำนาจในทางมิชอบ จักรพรรดิคังซีได้มีคำสั่งปลดอิ้นเหริงจากตำแหน่งรัชทายาท แต่ในภายหลังได้มีการจับกุมองค์ชายอิ้นจือ (พระโอรสองค์ใหญ่ของคังซี) ด้วยข้อหาทำคาถาใส่รัชทายาท ปี พ.ศ. 2252 อิ้นเหริงจึงได้รับการแต่งตั้งขึ้นเป็นรัชทายาทอีกครั้ง ตลอดช่วงระยะเวลาสามปีต่อมา อิ้นเหริงมีพฤติกรรมที่แย่ลง ยังใช้อำนาจในทางมิชอบ ซ่องสุมกลุ่มขุนนาง รังแกเหล่าพระอนุชา จักรพรรดิคังซีจึงสั่งปลดจากตำแหน่งรัชทายาทอีกครั้งในปี พ.ศ. 2255 และได้มีการคุมขังไว้
 
จักรพรรดิคังซีได้ประกาศแต่งตั้งอิ้นเหริงเป็นรัชทายาทเมื่อพระองค์มีพระชนมายุได้หนึ่งพรรษา คังซีได้หาผู้มีความรู้มาอบรมสั่งสอนรัชทายาท ทำให้อิ้นเหริงเป็นผู้รอบรู้ทั้งภาษาฮั่นและภาษาแมนจู ในปี พ.ศ. 2239–22401696–1697 จักรพรรดิคังซียกทัพปราบเก๋อเอ่อตานข่าน อิ้นเหริงอิ่นเหริงได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้สำเร็จราชการรักษานครปักกิ่ง แม้จะมีเรื่องอื้อฉาวและข้อกล่าวหาของการทุจริตและความอยุติธรรม พระองค์ยังคงอยู่ในความโปรดปรานของพระราชบิดา
ปี พ.ศ. 2265 จักรพรรดิคังซีสวรรคต องค์ชายสี่อิ้นเจินได้สืบทอดราชบังลังก์เป็น[[จักรพรรดิยงเจิ้ง]] อิ้นเหริงต้องเปลี่ยนพระนามเป็น "หยุ่นเหริง" (允礽) เพื่อไม่ให้ใช้คำว่า "อิ้น" เหมือนองค์จักรพรรดิ ในปี พ.ศ. 2268 อิ้นเหริงสิ้นพระชนม์ขณะยังถูกคุมขัง จักรพรรดิยงเจิ้งทรงสถาปนาให้เป็น "เหอซั่วหลี่มี่ชินอ๋อง" (和碩理密親王)
 
ในปี พ.ศ. 22461703 สั่วเอ้อถู (อาของจักรพรรดินีเซี่ยวเฉิงเหริน) ได้ถูกจับกุมด้วยข้อหาวางแผนลอบปลงพระชนม์และทุจริต เขาได้ถูกจำคุกและเสียชีวิตในเวลาต่อมา ทำให้อิ้นเหริงอิ่นเหริงเริ่มมีความขัดแย้งกับพระราชบิดา ปี พ.ศ.1708 2251 อิ้นเหริงอิ่นเหริงถูกกล่าวหาว่าผิดศีลธรรมทางเพศและใช้อำนาจในทางมิชอบ จักรพรรดิคังซีได้มีคำสั่งปลดอิ้นเหริงอิ่นเหริงจากตำแหน่งรัชทายาท แต่ในภายหลังได้มีการจับกุมองค์ชายอิ้นจืออิ่นจือ (พระโอรสองค์ใหญ่ของคังซี) ด้วยข้อหาทำคาถาใส่รัชทายาท ปี พ.ศ.1709 2252 อิ้นเหริงอิ่นเหริงจึงได้รับการแต่งตั้งขึ้นเป็นรัชทายาทอีกครั้ง ตลอดช่วงระยะเวลาสามปีต่อมา อิ้นเหริงอิ่นเหริงมีพฤติกรรมที่แย่ลง ยังใช้อำนาจในทางมิชอบ ซ่องสุมกลุ่มขุนนาง รังแกเหล่าพระอนุชา จักรพรรดิคังซีจึงสั่งปลดจากตำแหน่งรัชทายาทอีกครั้งในปี พ.ศ. 22551712 และได้มีการคุมขังไว้
 
ปี พ.ศ. 22651722 จักรพรรดิคังซีสวรรคต องค์ชายสี่อิ้นเจินอิ่นเจินได้สืบทอดราชบังลังก์เป็น[[จักรพรรดิยงเจิ้ง]] อิ้นเหริงอิ่นเหริงต้องเปลี่ยนพระนามเป็น "หยุ่นยฺหวิ่นเหริง" (允礽) เพื่อไม่ให้ใช้คำว่า "อิ้น"อิ่น เหมือนองค์จักรพรรดิ ในปี พ.ศ.1725 2268 อิ้นเหริงยฺหวิ่นเหริงสิ้นพระชนม์ขณะยังถูกคุมขัง จักรพรรดิยงเจิ้งทรงสถาปนาให้เป็น "เหอซั่วหอชั่วหลี่มี่ชินอ๋อง"หวัง (和碩理密親王)
 
==พระบรมวงศานุวงศ์==