ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มลภาวะทางแสง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
เขียนเป็นเด็กไปได้
Rakmith Thitiya (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 20:
4. มลภาวะทางแสงที่เกี่ยวข้องกับการก่ออาชญากรรม หลอดไฟที่ส่องสว่างตามถนน (Street Light) และหลอดไฟที่ให้ความปลอดภัย (Security Light) เพื่อประโยชน์แก่ผู้สัญจรทางเท้าให้มีความปลอดภัยในการมองเห็นในเวลากลางคืนได้อย่างชัดเจน และช่วยลดการเกิดอุบัติเหตุการสัญจรบนถนน รวมถึงความปลอดภัยจากอาชญากรรมจากการเดินทางบนถนนมากยิ่งขึ้น แสงสว่างจ้า (glare) ที่ส่องมาเข้าดวงตาของแกนนำการชุมนุมหรือประชาชนที่เข้าร่วมชุมนุมโดยตรง การใช้เทคโนโลยีแสงสว่างหรือไฟส่องสว่างในบริเวณพื้นที่ชุมนุมที่มีทิศทางส่องรุกล้ำไปยังที่อยู่อาศัยหรือพื้นที่ส่วนตัวของประชาชนที่อยู่อาศัยโดยรอบ (trespassing lights) รวมไปถึงการส่องแสงสว่างจากการออกแบบหรือติดตั้งหลอดไฟฟ้าหรือโคมไฟในบริเวณพื้นที่ที่มีการชุมนุมทางการเมืองในลักษณะที่ไม่เหมาะสม จนทำให้เกิดทิศทางของแสงส่องเรืองขึ้นไปยังท้องฟ้าในเวลากลางคืน (sky glow) ซึ่งไม่เพียงจะทำให้เป็นการสิ้นเปลืองพลังงานโดยใช้เหตุแล้ว แสงส่องเรืองขึ้นไปยังท้องฟ้าในเวลากลางคืนยังอาจทำลายธรรมชาติและความมืดมิดในยามค่ำคืนในบริเวณโดยรอบพื้นที่<ref>http://www.prachatai.com/journal/2013/11/49783</ref>
== หลักกฎหมายและป้องกันปัญหามลภาวะทางแสง==
== ข้อกฎหมาย ==
ในหลายประเทศได้กำหนดมาตรการทางกฎหมายในการควบคุมและป้องกันมลภาวะทางแสงโดยอาศัยแนวคิดพื้นฐานทางกฎหมาย หลายประการ<ref>www.tci-thaijo.org/index.php/JEM/article/viewFile/28085/24133</ref>
{{มุมมองสากล}}
=== Clean Neighbourhoods and Environment Act 2005 ===
[[ประเทศอังกฤษ]]ได้กำหนดบทบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันมลภาวะทางแสงไว้เป็นการเฉพาะ ได้แก่ มาตรา 102 และ 103 ตาม Clean Neighbourhoods and Environment Act 2005<ref>http://www.tci-thaijo.org/index.php/JEM/article/view/28085</ref> ซึ่งกำหนดสาระสำคัญเรื่อง “มาตรการป้องกันมลภาวะทางแสงอันมีสาเหตุมาจากการก่อให้เกิดความเดือดร้อนรำคาญจากแสง ” กฎหมาย Clean Neighbourhoods and Environment Act 2005 เป็นกฎหมายที่สำคัญในการป้องกันมลภาวะทางแสงที่เกิดมาจากการรุกล้ำโดยแสง กล่าวคือ “ การปล่อยให้หลอดไฟฟ้าที่ติดตั้งส่องแสงในทิศทางที่ไปรุกล้ำที่อยู่อาศัยหรือทรัพย์สินของบุคคลอื่นในบริเวณที่ไม่ต้องการให้แสงนั้นรุกล้ำย่อมถือเป็นการกระทำที่มิชอบด้วยกฎหมายอันทำให้บุคคลหรือทรัพย์สินที่ได้รับผลกระทบเดือดร้อนรำคาญจากแสงประดิษฐ์ที่ส่องในเวลากลางคืนมารุกล้ำ”
 
1. หลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development) กล่าวคือการแสวงหาแนวทางและวิธีการในการควบคุมและป้องกันมลภาวะทางแสงจำเป็นต้องคำนึงควบคู่ไปกับการขยายตัวทางเศรษฐกิจและการพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม เช่น การกำหนดมาตรการในการควบคุมการขยายตัวของชุมชนเมืองเพื่อป้องกันปัญหามลภาวะทางแสง
===Town and Country Planning Act 1990 ===
 
นอกจากปัญหาทางกฎหมาของ Clean Neighbourhoods and Environment Act 2005 แล้ว ประเทศอังกฤษยังมีข้อจำกัดทางกฎหมายผังเมือง ซึ่งกฎหมายผังเมืองที่อังกฤษได้ใช้ ได้แก่ กฎหมาย Town and Country Planning Act 1990<ref>www.tci-thaijo.org/index.php/JEM/article/viewFile/28085/24133</ref> รัฐบาลอังกฤษไม่ได้กำหนดมาตรการทางกฎหมายผังเมืองเป็นการเฉพาะเพื่อที่จะเป็นตัวกำหนดมาตรฐานการออกแบบอาคารและการติดตั้งหลอดไฟฟ้า หรือเพื่อป้องกันมลภาวะทางแสงจากแสงในเวลากลางคืน ซึ่งในปัจจุบันเป็นเพียงการให้การตัดสินใจแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของอังกฤษในการพิจารณาว่าแบบแผนของอาคารที่ขออนุญาตเพื่อดำเนินการก่อสร้างหรือการติดตั้งหลอดไฟฟ้าหรือโคมไฟ ที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนโดยรอบหรือท้องถิ่นบ้าง
2. หลักการระวังไว้ก่อน (Precautionary Principle) กล่าวคือการระวังถึงภัยของมลภาวะทางแสงโดยอาศัยแนวทางของการขจัดและการป้องกันไม่ให้มนุษย์และระบบนิเวศได้รับผลกระทบจากมลภาวะทางแสงในลักษณะต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และผู้มีส่วน ด้เสียอื่นจำเป็นต้องตระหนักและระมัดระวังภัยที่จะเกิดขึ้น เช่น สมาคมไฟฟ้าแสงสว่างแห่งสหรัฐอเมริกา (Illuminating Engineering Society—IES)
 
3. หลักการป้องกันล่วงหน้า (Prevention Principle)กล่าวคือภาครัฐควรร่วมมือกับภาคเอกชนในการกำหนดแนวทางและวิธีการลดความเสี่ยงที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายทาง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอันเนื่องมาจากมลภาวะทางแสง เช่น การระบุพื้นที่กำหนดความเสี่ยงจากภัยมลภาวะทางแสงและการกำหนดพื้นที่ในการควบคุมมลภาวะทางแสงในระดับต่าง ๆ
 
4. หลักความร่วมมือจากทุกภาคส่วน (Cooperation Principle) กล่าวคือไม่ว่าจะเป็นภาครัฐองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชนและภาคประชาชนต้องมีส่วนร่วมหรือมีความร่วมมือ กันในการเสริมสร้างองค์ความรู้ด้านมลภาวะทางแสงและร่วมกันปฏิบัติตามแนวทางระเบียบและกฎหมายที่ภาครัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้บัญญัติไว้
 
== ดูเพิ่ม ==