ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แพราเซลซัส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
{{ช่วยดูหน่อย}}
'''พาราแพราเซลซัส''' ([[ภาษาอังกฤษ{{lang-en|อังกฤษ]]: [http://en.wikipedia.org/wiki/Paracelsus Paracelsus]}}; [[11 พฤศจิกายน]] หรือ [[17 ธันวาคม]] [[ค.ศ. 1493]] - [[24 กันยายน]] [[ค.ศ. 1541]]) เป็นชาวเยอรมันในประเทศสวิสเซอร์แลนด์สวิตเซอร์แลนด์, [[นักฟิสิกส์]], [[นักพฤกษศาสตร์]], [[นักเล่นแร่แปรธาตุ]], [[นักดาราศาสตร์]], และ ผู้ใช้[[เวทมนตร์]]ทั่วไป แห่งยุคเรเนซองส์สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา เขาเป็นผู้กำหนดกฎแห่งพิษวิทยา (The Discipline of Toxicology) อีกทั้งยังเป็นนักปฏิวัติผู้ยืนหยัดในเรื่องของการสังเกตความเป็นไปของธรรมชาติ แทนที่จะมัวดูแค่ตำราเก่าๆเก่า ๆ โบราณ เขายังเป็นผู้ตั้งชื่อให้กับ[[สังกะสี|ธาตุสังกะสี]] ([[Zinc]]) โดยให้ชื่อว่า ''zincum'' นักจิตวิทยาสมัยใหม่มักจะให้การยอมรับว่าเขาเป็นผู้บันทึกคนแรกเกี่ยวกับเรื่องที่ว่า โรคบางโรคมีสาเหตุมาจากภาวะการป่วยทางจิต
:
เขาเป็นคนหัวแข็งและรักอิสระ เติบโตขึ้นด้วยความผิดหวังและชีวิตที่ขมขื่น ซึ่งนั่นเองคงเป็นสาเหตุที่ว่าทำไมเขาถึงได้กลายเป็นนักปฏิรูป
:
คำว่า "พาราแพราเซลซัส" หมายถึง "เทียบเท่าหรือยิ่งใหญ่กว่าเซลซัส" ซึ่งในที่นี้คือผู้เขียนสารานุกรมชาวโรมันชื่อ อูลัส คอลเนลเลียส เซลซัส ([http://en.wikipedia.org/wiki/Aulus_Cornelius_Celsus Aulus Cornelius Celsus]) เป็นที่รู้จักกันในเรื่องตำราเวชศาสตร์ของเขา
 
== ประวัติ ==
:
'''พาราแพราเซลซัส''' มีชื่อเดิมว่า '''Philippus Areolus Theophrastus Bombastus von Hohenheim''' เกิดและเติบโตที่หมู่บ้าน Einsiedeln ประเทศสวิซเซอร์แลนด์สวิตเซอร์แลนด์ เป็นลูกชายของ วิลฮิมวิลเฮล์ม บอมบาสต์มบัสท์ ฟอน โฮเอินไฮม์ (Wilhelm Bombast von Hohenheim) นักเคมีและฟิสิกส์ กับ หญิงชาวสวิส ในตอนเด็กเขาได้ทำงานเป็นนักวิเคราะห์ที่เหมือง จนเมื่ออายุได้ 16 ปี เขาก็ได้เข้าศึกษาต่อด้านการแพทย์ที่มหาวิทยาลัยBaselบาเซิล ภายหลังจากที่ย้ายไปที่ Viennaเวียนนา เขาก็ได้รับปริญญาเอกจากมหาวิทยาลัยFerraraแฟร์รารา จากการเป็นนักฟิสิกส์เร่ร่อนและช่างขุดแร่ทำให้เขาได้เดินทางไปในหลายๆประเทศทั้งเยอรมนี ฝรั่งเศส สเปน ฮังการี เนเธอร์แลนด์ เดนมาร์ก สวีเดน และรัสเซีย
:
พาราแพราเซลซัสศึกษาวิชาหลายแขนง หนึ่งในนั้นคือดาราศาสตร์ ดาราศาสตร์เป็นวิชาที่สำคัญในการพัฒนาวิชาการแพทย์ของเขา หลังจากการศึกษาครั้งนี้เขาได้คิดค้นเครื่องรางของขลังทางดาราศาสตร์สำหรับป้องกันโรคด้วยใช้สัญลักษณ์ 12 นักษัตรโดยแต่สัญลักษณ์ก็จะป้องกันโรคได้แตกต่างกัน และเขายังได้ประดิษฐ์อักษรเวทมนตร์เพื่อสลักชื่อเทพลงในเครื่องรางของเขาอีกด้วย
:
พาราแพราเซลซัสเป็นผู้ริเริ่มนำสารเคมีและแร่ธาตุมาใช้เป็นยารักษาโรค เขาใช้คำว่าซิงค์แทนธาตุสังกะสีในปี 1526 โดยมาจากศัพท์เยอรมันซิงค์ที่แปลว่าแหลมคมตามรูปร่างของตัวผลึกสังกะสี เขาใช้ในการทดลองเพื่อศึกษาร่างกายมนุษย์ นอกจากนี้เขายังมีส่วนรับผิดชอบในการผลิตทิงเจอร์ฝิ่นอีกด้วย
:
ด้วยความหยิ่งยโสของพาราแพราเซลซัสเป็นที่เลื่องลืออย่างมากทำให้นักฟิสิกส์ทั่วทั้งยุโรปโกรธเกลียดเขา นั่นทำให้เขาดำรงตำแหน่งแพทย์ที่มหาวิทยาลัยBaselบาเซิลได้ไม่ถึงปี ในขณะที่มีเพื่อนร่วมงานของเขากล่าวหาว่าเขาเป็นคนเผาตำราแพทย์พื้นเมือง จากนั้นเขาก็ถูกขับไล่ออกจากเมือง หลังจากถูกขับออกจากเมืองพาราแพราเซลซัสก็ได้ระเหเร่ร่อนไปยัง ยุโรป แอฟริกา และเอเชียบางส่วนเพื่อศึกษาความหาความรู้เพิ่มเติม เขาได้แก้ไขตำราและเขียนขึ้นใหม่ แต่เขาก็ต้องพบกับปัญหาในการหาผู้ผลิต จนกระทั่งปี 1536 หนังสือเรื่อง ''Die Grosse Wundartznei'' (การผ่าตัดที่สมบูรณ์) ของเขาได้ตีพิมพ์และกู้เชื่อเสียงของเขาคืนมาได้ ในชีวิตของพาราแพราเซลซัสได้เข้าไปเกี่ยวข้องกับการกำเนิดลัทธิลูเธอร์รันและความคิดเห็นของเขาในเรื่องธรรมชาติจักรวาลก็มีความเข้าใจมากกว่าคำบรรยายในทางศาสนา
:
พาราแพราเซลซัสเสียชีวิตเมื่อตอนอายุได้ 48 ปีตามธรรมชาติ ศพของเขาก็ได้รับการฝังที่ป่าช้าโบสถ์เซบาสเตียนในSalzburgซาลซ์บูร์กตามปรารถนาของเขา และได้ย้ายมาไว้ในสุสานนอกชานโบสถ์ในปัจจุบัน
หลังจากการตายของพาราแพราเซลซัส ศาสตร์ความรู้ของเขาก็ได้เป็นที่รู้จักมากขึ้นและถูกนำไปใช้อย่างแพร่หลายโดยผู้ที่ต้องการล้มล้างฟิสิกส์แบบเก่า
:
คติประจำตัวของพาราแพราเซลซัสก็คือ ''“Alterius non sit qui suus esse potest”'' หมายความว่า ''“อย่าปล่อยให้มีใครที่สามารถเป็นตัวของตัวเองได้ไปเป็นของผู้อื่น”''
 
== ปรัชญา ==
:
พาราแพราเซลซัสเชื่อในแนวคิดของชาวกรีกเรื่องธาตุทั้งสี่ แต่เขาก็ได้เสนอแนวคิดเพิ่มเติมในอีกระดับหนึ่งว่า จักรวาลได้ถูกสร้างขึ้นจาก tria prima ซึ่งประกอบด้วย ปรอท กำมะถัน และเกลือ ธาตุทั้งสามนี้ไม่ใช่ธาตุที่เรารู้จักในปัจจุบัน แต่เป็นหลักการกว้างๆ ที่ให้กับทุกวัตถุทั้งแก่นเนื้อภายในและรูปร่างภายนอก ปรอทเป็นตัวทำให้เกิดเปลี่ยนแปลงสถานะ(การหลอมเหลวและการระเหย) กำมะถันเป็นตัวเชื่อมระหว่างวัตถุและการเปลี่ยนแปลงสถานะ(การเผาไหม้) และเกลือเป็นตัวทำให้เกิดการแข็งตัว (การแข็งตัวและการควบแน่น) ยกตัวอย่างเช่น การเผาไม้จะได้ ควันเกิดจากปรอท ไฟเกิดจากกำมะถัน และขี้เถ้าเกิดจากเกลือ
:
หน้าแนวคิดคิดนี้ก็ใช้นิยามกับเอกลักษณ์ของมนุษย์ได้เช่นกัน คือกำมะถันปรากฏเป็นจิตวิญญาณ (อารมณ์และความใคร่) เกลือแทนร่างกาย และปรอทเป็นตัวแทนความคิด (จินตนาการ การแยกแยะดีชั่ว และปัญญาระดับสูง) จากการทำความเข้าใจธรรมชาติของ tria prima ในเชิงเคมีทำให้แพทย์สามารถค้นพบวิธีการรักษาโรคติดต่อได้
บรรทัด 31:
 
:
พาราแพราเซลซัสเป็นผู้ริเริ่มการใช้แร่ธาตุและสารเคมีในทางการแพทย์ ในทางลึกลับเขามองว่าโรคภัยไข้เจ็บและสุขภาพนั้นขึ้นอยู่กับความลงตัวของมนุษย์และธรรมชาติ เขาใช้วิธีที่แตกต่างไปจากคนอื่นก่อนหน้านี้ การใช้การเปรียบเทียบนี้ไม่ได้อยู่ในลักษณะ ของจิตวิญญาณบริสุทธิ์ แต่อยู่ในลักษณะที่มนุษย์ต้องอยู่ในสมดุลของแร่ธาตุในร่างกาย และอาการเจ็บป่วยบางประการของร่างกายก็สามารถรักษาให้หายได้ด้วยสารเคมี
ผลจากแนวคิดเรื่องความสมดุลนี้ เปรียบมนุษย์ได้กับจักรวาลเล็กๆเล็ก ๆ ในจักรวาลใหญ่ๆใหญ่ ๆ ด้วยความรู้ภูมิปัญญาในสมัยนั้น ที่รู้จักดาวเคราะห์ 7 ดวง โลหะบนโลก 7 ชนิด และอวัยวะภายใน 7 อย่าง ด้วยความที่ 7 เป็นเลขพิเศษจึงแทนดาวเคราะห์ โลหะ และอวัยวะต่างๆต่าง ๆ ตามตารางดังนี้
{| class="wikitable"
|-
บรรทัด 53:
 
:
เชื้อโรคเกิดจากยาพิษจากดวงดาว แต่ยาพิษไม่จำเป็นต้องเป็นสิ่งที่เลวร้ายเสมอไป เพราะสารพิษบางตัวก็สามารถล้างพิษด้วยกันเองได้ ดังสุภาษิตที่ว่า สิ่งชั่วร้ายก็ทำลายกันเองได้ ด้วยเหตุนั้นจึงทำให้สารพิษเป็นผลดีในทางการแพทย์ เพราะทุกอย่างในจักรวาลมีความสัมพันธ์เกี่ยวโยงซึ่งกันและกัน สารที่เป็นประโยชน์ทางการแพทย์สามารถพบได้ในสมุนไพร และสารประกอบทางเคมี ความเห็นของพาราแพราเซลซัสในเรื่องนี้ทำให้เขาถูกขับออกจากคริสตจักร ในฐานะผู้ที่ถามหาความแตกต่างระหว่างผู้สร้างและผู้ถูกสร้าง
 
:
บรรทัด 59:
 
:
Hippocrates ได้หยิบยกเรื่องทฤษฏีที่ว่าอาการเจ็บป่วยนั้นเกิดจากความไม่สมดุลของของเหลวสี่อย่างในร่างกายอันได้แก่ เลือด เสมหะ น้ำดีดำ และน้ำดี แนวความคิดนี้ถูกนำไปต่อยอดโดย Galen ซึ่งมีอิทธิพลอย่างมากและถาวรต่อความเชื่อทางการแพทย์ จนกระทั่งช่วงกลางของทศวรรษที่ 185 การรักษาที่มีข้อโดดเด่นคือใช้อาหารเฉพาะที่จะช่วยในการช่วยชะล้างของเสียออกควบคู่กับการถ่ายเลือดออกเพื่อคืนความสมดุลให้กับของเหลวสี่ชนิดในร่างกาย ได้ถูกพาราแพราเซลซัสเสนอแนวคิดใหม่ว่าอาการเจ็บป่วยในคนเรานั้นไม่ได้เกิดจากภายในแต่เกิดจากร่างกายถูกทำลายด้วยปัจจัยภายนอก
ผลงานชิ้นโบว์แดงของพาราแพราเซลซัสคือการรักษาและแนวทางการป้องกันคนงานเหมืองจากเจ็บป่วยและอันตรายจากงานโลหะและเขายังเขียนหนังสือเรื่องร่างกายมนุษย์โต้แนวคิดของ Galen อีกด้วย
 
== พาราแพราเซลซัสกับพิษวิทยา ==
:
พาราแพราเซลซัสผู้ถูกขนานนามว่าเป็นบิดาแห่งวิชาพิษวิทยากล่าวไว้ว่า ''“สารทุกชนิดเป็นพิษและไม่มีสารใดที่ไม่เป็นพิษ ยาบางปริมาณเท่านั้นที่จะเป็นพิษ”'' หรือเรียกง่ายๆว่า ''“ปริมาณยาทำให้เป็นพิษ”'' จากคำกล่าวข้างต้นสรุปได้ว่า สารที่พิจารณาว่ามีพิษมากถ้าใช้ในปริมาณน้อยก็จะปลอดภัย แต่ในทางกลับกันสารที่พิจารณาว่าไม่เป็นพิษถ้าใช้มากก็เกิดพิษได้เหมือนกัน
 
== ผลงาน ==
บรรทัด 85:
* Philosophiae et Medicinae utriusque compendium, Basel, 1568.
* Liber de Nymphis, sylphis, pygmaeis et salamandris et de caeteris spiritibus
[[หมวดหมู่: ชาวสวิส]]
[[หมวดหมู่:นักวิทยาศาสตร์]],
[[หมวดหมู่:นักเล่นแร่แปรธาตุ]]]
[[หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2036]]
{{โครงชีวประวัติ}}