ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มาลาเรีย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 14:
| MeshNumber = C03.752.250.552
}}
'''มาลาเรีย''' ({{lang-en|malaria}}) หรือ'''ไข้จับสั่น''' '''ไข้ป่า''' '''ไข้ป้าง''' '''ไข้ร้อนเย็น'''หรือ'''ไข้ดอกสัก''' เป็นโรคติดเชื้อของมนุษย์และสัตว์อื่นที่มียุงเป็นพาหะ มีสาเหตุจากปรสิต[[โปรโตซัว]] ([[จุลินทรีย์]]เซลล์เดียวประเภทหนึ่ง) ในสกุล ''[[Plasmodium]]'' (พลาสโมเดียม) อาการตรงแบบของมาลาเรียมีไข้ อ่อนเพลีย อาเจียนและปวดศีรษะ ในรายที่รุนแรงอาจทำให้[[ดีซ่าน|ตัวเหลือง]] ชัก [[โคม่า]]หรือเสียชีวิตได้<ref name="Caraballo 2014"/> โรคมาลาเรียส่งผ่านโดยการกัดของยุงเพศเมียในสกุล ''[[Anopheles]]'' (ยุงก้นปล่อง) และปกติอาการเริ่ม 10 ถึง 15 วันหลังถูกกัด หากไม่ได้รับการรักษาอย่างเหมาะสม บุคคลอาจมีการกลับมีอาการโรคในอีกหลายเดือนให้หลัง ในผู้ที่เพิ่งรอดจากการติดเชื้อ การติดเชื้อซ้ำมักมีอาการเบากว่า การต้านทานบางส่วนนี้จะหายไปในเวลาเป็นเดือนหรือปีหากบุคคลไม่ได้สัมผัสมาลาเรียอย่างต่อเนื่อง<ref name="Caraballo 2014"/>
 
เมื่อถูกยุง ''PlasmodiumAnopheles'' ห้าสปีชีส์เพศเมียกัดจะนำเชื้อปรสิตจากน้ำลายของยุงเข้าสู่เลือดของบุคคล ปรสิตจะไปตับซึ่งจะเจริญเติบโตและสืบพันธุ์ มนุษย์สามารถติดต่อติดเชื้อและส่งผ่านโดยมนุษย์ได้ต่อ ''Plasmodium'' ห้าสปีชีส์ ผู้เสียชีวิตส่วนมากเกิดจากเชื้อ ''[[P. falciparum]]'' และเพราะ ''[[P. vivax]]'' ขณะที่, ''[[P. ovale]]'' และ ''[[P. malariae]]'' โดยทั่วไปก่อให้เกิดโรคมาลาเรียแบบที่โดยทั่วไปรุนแรงน้อยกว่า ซึ่งไม่ค่อยมีผู้เสียชีวิต สปีชีส์รับจากสัตว์ ''P. knowlesi'' พบมากใน[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] ก่อให้เกิดโรคมาลาเรียใน[[ลิงแม็กแคก]] แต่ก็สามารถก่อให้เกิดการติดเชื้อรุนแรงในมนุษย์ได้เช่นกัน โรควินิจฉัยมาลาเรียพบมากในพื้นที่เขตร้อนและกึ่งเขตร้อนเพราะปริมาณฝน อุณหภูมิอบอุ่นและน้ำนิ่งซึ่งเป็นแหล่งที่อยู่ที่ดีสำหรับตัวอ่อนของยุง ตรงแบบทำโดยการตรวจเลือดด้วยกล้องจุลทรรศน์โดยใช้[[ฟิล์มเลือด]]หรือการวินิจฉัยชนิดรวดเร็ว (rapid diagnostic test) ที่อาศัย[[แอนติเจน]] เป็นวิธีการวินิจฉัยโรคมาลาเรียตามปกติ มีการพัฒนาเทคนิคสมัยใหม่วิธีซึ่งใช้[[ปฏิกิริยาลูกโซ่พอลิเมอเรส]]เพื่อตรวจจับ[[ดีเอ็นเอ]]ของ ''Plasmodium''ปรสิต แต่ยังไม่มีใช้แพร่หลายในพื้นที่ซึ่งมีโรคมาลาเรียเป็นโรค[[ประจำถิ่น]]ทั่วไปเนื่องจากมีราคาแพงและซับซ้อน<ref name="Nadjm 2012"/>
 
การส่งผ่านโรคสามารถลดได้ด้วยการป้องกันไม่ให้ถูกยุงกัด โดยการใช้[[มุ้ง]]หรือ[[สารขับไล่แมลง]] หรือด้วยมาตรการควบคุมยุง เช่น การฉีดพ่น[[ยาฆ่าแมลง]]หรือการระบายน้ำนิ่ง โรคมาลาเรียยังไม่มีวัคซีนที่มีประสิทธิภาพ แม้กำลังมีความพยายามพัฒนาวัคซีนอยู่ในปัจจุบัน มียาหลายชนิดที่ใช้ป้องกันมาลาเรียในนักท่องเที่ยวที่เดินทางไปยังประเทศซึ่งโรคมาลาเรียเป็นโรคประจำถิ่น นอกจากนี้มี[[ยาต้านมาลาเรีย]]หลายชนิด โรคมาลาเรียรุนแรงรักษาด้วยการฉีด[[ควินิน]]เข้าหลอดเลือดดำหรือกล้ามเนื้อ หรือ ตั้งแต่กลางคริสต์ทศวรรษ 2000 [[artesunate|อาร์ทีซูเนต]] อนุพันธ์ของ[[artemisinin|อาร์ตีมิซินิน]] ซึ่งให้ผลดีกว่าควินินทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ และให้ร่วมกับยาต้านมาลาเรียตัวที่สอง เช่น [[mefloquine|เมโฟลควิน]] เชื้อมี[[การดื้อยา]]ต่อยาต้านมาลาเรียหลายชนิด เช่น ''P. falciparum'' ซึ่งดื้อต่อ[[chloroquine|คลอโรควิน]]ได้แพร่ไปยังพื้นที่ซึ่งมีการระบาดมากที่สุด และการเริ่มดื้อยาอาร์ทีมิซินินได้กลายมาเป็นปัญหาในบางพื้นที่ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้