ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไฮดร้า (วงดนตรี)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kurino (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6:
| แหล่งกำเนิด = [[ภาพ:Flag of Thailand.svg|25px|ประเทศไทย]] [[กรุงเทพ]] [[ประเทศไทย]]
| แนวเพลง = [[ป๊อปร็อก]]
| ช่วงปี = [[พ.ศ. 2535]]<br />[[พ.ศ. 2553]] -ปัจจุบัน(รวมตัวอีกครั้ง)
| ค่าย = [[นิธิทัศน์]]
| สมาชิก = [[นครินทร์ กิ่งศักดิ์]] (ป้าง)<br />[[ธนา ลวสุต]] (ปอนด์)
}}
 
'''ไฮดร้า''' เป็นวงดนตรีไทยแนว[[ป๊อปร็อก]] มีผลงานเพลงอัลบั้มสตูดิโอเพียงชุดเดียวในปี [[พ.ศ. 2535]] โดยมีสมาชิกอันประกอบไปด้วย [[นครินทร์ กิ่งศักดิ์]] (ป้าง) และ [[ธนา ลวสุต]] (ปอนด์) โดยป้างเป็นคนแต่ง[[คำร้อง]] และปอนด์แต่ง[[ทำนอง]] วงไฮดร้าเป็นศิลปินในสังกัดคค่าย[[นิธิทัศน์]] และวงไฮดร้ายังด้รับรางวัล[[สีสันอวอร์ด]] สาขาวงดนตรีหน้าใหม่ยอดเยี่ยม ปี 2535 จากอัลบั้มชุดเดียวคือ ''"อัศเจรีย์"'' ซึ่งใช้เวลาเตรียมตัวทำอัลบั้มนานถึง 5 ปี
 
== ที่มาของชื่อวง ==
* ความหมายของชื่อวงไฮดร้าจึงสื่อว่า เมื่อหน่อหนึ่งตายไปก็จะเกิดใหม่เป็นสองหน่อ ซึ่งก็คือวงเก่าของปอนด์กลายมาเป็น ''ป้างกับปอนด์'' จึงเป็นที่มาของชื่อวงดนตรีแนวป๊อปที่มีฝีมือจัดจ้านโดยสมาชิกสองคน<ref>ปอนด์ ธนา ลวสุต เป็นผู้ตั้งชื่อวง "ไฮดร้า"</ref>
 
=== ประวัติ ===
ข้อมูลการก่อสร้างวงนั้น มีรายงานอยู่สองทาง บางรายบอกว่า ป้าง แต่งเนื้อเพลงขึ้นมาแล้วนำไปให้ ปอนด์ จากนั้นก็เกิดเป็น "ไฮดร้า" ในผลงานชุดแรกจะสังเกตว่า เนื้อเพลงในอัลบั้มเป็นฝีมือของป้างแทบทั้งสิ้น โดยปอนด์เป็นผู้แต่งทำนอง ดนตรีและเรียบเรียงเสียงประสาน ทั้งนี้เพราะก่อนหน้านี้ ปอนด์เคยรวมวงกับเพื่อนทำวงดนตรี [[ฟีดแบค]] ในแนวเทคโนป๊อป(ทั้งวงใช้เครื่องดนตรีไฟฟ้าทั้งหมด) แต่ยุบวงไป ความหมายของชื่อวงไฮดร้าจึงสื่อว่า เมื่อหน่อหนึ่งตายไปก็จะเกิดใหม่เป็นสองหน่อ ซึ่งก็คือวงเก่าของปอนด์กลายมาเป็น ''ป้างกับปอนด์'' จึงเป็นที่มาของชื่อวงดนตรีแนวป๊อปที่มีฝีมือจัดจ้านโดยสมาชิกสองคน<ref>ปอนด์ ธนา ลวสุต เป็นผู้ตั้งชื่อวง "ไฮดร้า"</ref> ส่วนอีกแนวทางคือปอนด์ได้ติดต่อป้างให้มาช่วยทำงานชุดใหม่ แต่ไม่ว่าอย่างไรก็ตามผลงานที่ออกมาก็คุ้มค่าแก่การจดจำของแฟนเพลงป๊อปไทยมานานหลายปี มีเพลงป๊อปชั้นดีอย่างเช่น น.ส.หุ่นยนต์, ไว้ใจ, ไกลเท่าเดิม หรือ ตัวปลอม แม้กระทั่ง "ดึกแล้ว" เพลงเดียวที่ปอนด์ร้องในอัลบั้มครั้งแรกซึ่งมีเนื้อหากินใจและท่วงทำนองอันไพเราะจนถึงทุกวันนี้ <ref>[http://web.archive.org/20050429234802/www.geocities.com/tlpsite/hydra.html เว็บไซต์แฟนเพลงไฮดร้า]</ref>
 
ข้อมูลการก่อสร้างวงนั้น มีรายงานอยู่สองทาง บางรายบอกว่า ป้าง แต่งเนื้อเพลงขึ้นมาแล้วนำไปให้ ปอนด์ จากนั้นก็เกิดเป็น "ไฮดร้า" ในผลงานชุดแรกจะสังเกตว่า เนื้อเพลงในอัลบั้มเป็นฝีมือของป้างแทบทั้งสิ้น โดยปอนด์เป็นผู้แต่งทำนอง ดนตรีและเรียบเรียงเสียงประสาน ทั้งนี้เพราะก่อนหน้านี้ ปอนด์เคยรวมวงกับเพื่อนทำวงดนตรี [[ฟีดแบค]] ในแนวเทคโนป๊อป(ทั้งวงใช้เครื่องดนตรีไฟฟ้าทั้งหมด) แต่ยุบวงไป ความหมายของชื่อวงไฮดร้าจึงสื่อว่า เมื่อหน่อหนึ่งตายไปก็จะเกิดใหม่เป็นสองหน่อ ซึ่งก็คือวงเก่าของปอนด์กลายมาเป็น ''ป้างกับปอนด์'' จึงเป็นที่มาของชื่อวงดนตรีแนวป๊อปที่มีฝีมือจัดจ้านโดยสมาชิกสองคน<ref>ปอนด์ ธนา ลวสุต เป็นผู้ตั้งชื่อวง "ไฮดร้า"</ref> ส่วนอีกแนวทางคือปอนด์ได้ติดต่อป้างให้มาช่วยทำงานชุดใหม่ แต่ไม่ว่าอย่างไรก็ตามผลงานที่ออกมาก็คุ้มค่าแก่การจดจำของแฟนเพลงป๊อปไทยมานานหลายปี มีเพลงป๊อปชั้นดีอย่างเช่น น.ส.หุ่นยนต์, ไว้ใจ, ไกลเท่าเดิม หรือ ตัวปลอม แม้กระทั่ง "ดึกแล้ว" เพลงเดียวที่ปอนด์ร้องในอัลบั้มครั้งแรกซึ่งมีเนื้อหากินใจและท่วงทำนองอันไพเราะจนถึงทุกวันนี้ <ref>[http://web.archive.org/20050429234802/www.geocities.com/tlpsite/hydra.html เว็บไซต์แฟนเพลงไฮดร้า]</ref>
 
== การแยกวง และปัจจุบัน ==
* หลังแยกจากวงไฮดร้า ป้างเป็นศิลปินเดี่ยวให้กับค่าย [[โซนี่ มิวสิก]] และ [[จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่]] แตามลำดับ ขณะที่ ปอนด์ ได้ย้ายจากนิธิทัศน์ไปทำงานเป็นโปรดิวเซอร์ให้กับค่าย[[จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่]] และได้เป็นผู้บริหารค่ายเพลงในเครือชื่อ "แกรมมี่ คิวเอ็กซ์" อยู่ช่วงหนึ่งจนปิดตัวลง จากนั้นได้เป็นผู้บริหารค่ายเพลง [[จีโนม เรคคอร์ดส]] ในเครือ [[อาร์.เอส.]] และกลับมาทำงานเพลงให้กับแกรมมี่จนถึงปัจจุบัน
 
=== คอนเสิร์ตรียูเนี่ยน ===
* สมาชิกวงไฮดร้าได้ประกาศรวมตัวอีกครั้งเพื่อขึ้นคอนเสิร์ต "The Famous Five A Tribute To Hydra" ในวันที่ [[15 มีนาคม]][[พ.ศ. 2553]] ณ อินดอร์สเตเดียม หัวหมาก โดยเป็นการแสดงสดของศิลปิน 5 วงที่นำเพลงของวงไฮดร้ามาขับร้องใหม่ อันได้แก่ [[พันกร บุณยะจินดา]]
[[สุนิสา สุขบุญสังข์]] , [[อีทีซี]] , [[บุรินทร์ บุญวิสุทธิ์]] , [[โมเดิร์นด็อก]] วง OMG (ศิลปินหน้าใหม่จากค่าย REVOL MUSIC CREATION) และวงไฮดร้าในฐานะศิลปินต้นฉบับก็ได้ร่วมขึ้นเวทีในครั้งนี้ด้วย <ref>[http://www.thaiticketmajor.com/concert/concert-detail.php?sid=470 The Famous Five A Tribute to Hydra]</ref>
 
== ผลงานเพลง ==
เส้น 51 ⟶ 57:
* ปีที่ผลิต : 2535 (1992)
 
== อ้างอิง ==
== การแยกวง และปัจจุบัน ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
* หลังแยกจากวงไฮดร้า ป้างเป็นศิลปินเดี่ยวให้กับค่าย [[โซนี่ มิวสิก]] และ [[จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่]] แตามลำดับ ขณะที่ ปอนด์ ได้ย้ายจากนิธิทัศน์ไปทำงานเป็นโปรดิวเซอร์ให้กับค่าย[[จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่]] และได้เป็นผู้บริหารค่ายเพลงในเครือชื่อ "แกรมมี่ คิวเอ็กซ์" อยู่ช่วงหนึ่งจนปิดตัวลง จากนั้นได้เป็นผู้บริหารค่ายเพลง [[จีโนม เรคคอร์ดส]] ในเครือ [[อาร์.เอส.]] และกลับมาทำงานเพลงให้กับแกรมมี่จนถึงปัจจุบัน
 
=== คอนเสริ์ตยูเรเนี่ยน ===
 
* สมาชิกวงไฮดร้าได้ประกาศรวมตัวอีกครั้งเพื่อขึ้นคอนเสิร์ต "The Famous Five A Tribute To Hydra" ในวันที่ [[15 มีนาคม]][[พ.ศ. 2553]] ณ อินดอร์สเตเดียม หัวหมาก โดยเป็นการแสดงสดของศิลปิน 5 วงที่นำเพลงของวงไฮดร้ามาขับร้องใหม่ อันได้แก่ [[พันกร บุณยะจินดา]]
[[สุนิสา สุขบุญสังข์]] , [[อีทีซี]] , [[บุรินทร์ บุญวิสุทธิ์]] , [[โมเดิร์นด็อก]] วง OMG (ศิลปินหน้าใหม่จากค่าย REVOL MUSIC CREATION) และวงไฮดร้าในฐานะศิลปินต้นฉบับก็ได้ร่วมขึ้นเวทีในครั้งนี้ด้วย <ref>[http://www.thaiticketmajor.com/concert/concert-detail.php?sid=470 The Famous Five A Tribute to Hydra]</ref>
 
== ที่มาของชื่อวง ==
 
* ความหมายของชื่อวงไฮดร้าจึงสื่อว่า เมื่อหน่อหนึ่งตายไปก็จะเกิดใหม่เป็นสองหน่อ ซึ่งก็คือวงเก่าของปอนด์กลายมาเป็น ''ป้างกับปอนด์'' จึงเป็นที่มาของชื่อวงดนตรีแนวป๊อปที่มีฝีมือจัดจ้านโดยสมาชิกสองคน<ref>ปอนด์ ธนา ลวสุต เป็นผู้ตั้งชื่อวง "ไฮดร้า"</ref>
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
เส้น 69 ⟶ 65:
* [https://twitter.com/poundhydra ทวิตเตอร์อย่างเป็นทางการของ ปอน]
* [https://www.facebook.com/pangtalk เฟซอย่างเป็นของทางการ ป้าง]
 
== อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}
 
 
 
[[หมวดหมู่:กลุ่มดนตรีร็อกสัญชาติไทย]]