ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นครรัฐน่าน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 26:
'''นครรัฐน่าน'''<ref name="นันทบุรี">คณะทำงานเอกลักษณ์น่าน. ''[http://www.nan.go.th/webjo/attachments/053_นครน่านพัฒนาการเป็นนครรัฐ.pdf นครน่าน พัฒนาการเป็นนครรัฐ]''. เรียกดูเมื่อ 4 มิถุนายน 2556</ref><ref>สรัสวดี อ๋องสกุล. ''ประวัติศาสตร์ล้านนา''. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ:อมรินทร์, 2552. หน้า 256</ref><ref>พิพิธภัณฑ์ชีวิตวิถีชาวน่าน. ''[http://www.nanlifewaymuseum.org/th/history_2_phyapoo.html จากลำน้ำปัวสู่ลำน้ำน่าน > นครรัฐน่านก่อนสมัยพญาภูคา]''. เรียกดูเมื่อ 4 มิถุนายน 2556</ref> บ้างเรียก '''อาณาจักรน่าน'''<ref>[http://www.thailandsworld.com/th/chiang-mai/chiang-mai-travel-guide/nan--kingdom-of-nan/index.cfm จังหวัดน่านและอาณาจักรน่าน]</ref> เป็นนครรัฐอิสระ<ref name="นครรัฐ">สรัสวดี อ๋องสกุล. ''ประวัติศาสตร์ล้านนา''. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ:อมรินทร์, 2552. หน้า 111</ref>ขนาดเล็กในอดีตรัฐหนึ่ง ซึ่งตั้งอยู่บนที่ราบลุ่ม[[แม่น้ำน่าน]]<ref name="ประวัติ"/> เดิมเรียกว่าเมืองกาว, แคว้นกาว, รัฐกาว, กาวเทศ<ref> Thailand Art. ''[http://thailandart.orgfree.com/k.htm ชนชาติกาว บรรพบุรุษผู้สูญหายของคนเมืองน่าน]''. เรียกดูเมื่อ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2556</ref> หรือ กาวน่าน<ref name="คม">{{cite press release |title=เมืองกาว เมืองน่าน|url=http://www.komchadluek.net/detail/20100129/46407/%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%99%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%99.html#.UaAvrNJFBck|publisher=คมชัดลึก|language=ไทย|date=|accessdate=25 พฤษภาคม พ.ศ. 2556}}</ref>
 
แต่ด้วยอุปสรรคด้านภูมิศาสตร์เนื่องด้วยตั้งอยู่ในหุบเขาขนาดเล็กจึงมีการพัฒนาที่ล้าหลังกว่ารัฐอื่น ๆ ที่ตั้งในแถบลุ่มน้ำปิงและวัง<ref name="พัฒนา">สรัสวดี อ๋องสกุล. ''ประวัติศาสตร์ล้านนา''. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ:อมรินทร์, 2552. หน้า 41</ref> ด้วยเหตุนี้น่านจึงตกอยู่ภายใต้การปกครองของพะเยาช่วงต้นถึงปลายศตวรรษที่ 19, ล้านนาในปี [[พ.ศ. 1993]] และพม่าในปี [[พ.ศ. 2103]]
 
== ประวัติ ==
นครรัฐน่านถูกสถาปนาขึ้นราวกลางพุทธศตวรรษที่ 18<ref name="ประวัติ">[http://www.nan.go.th/webjo/index.php?option=com_content&view=article&id=6&Itemid=27 ประวัติศาสตร์น่าน]</ref> โดย[[พญาผากอง]] เมื่อพญาผากองได้ถึงแก่พิราลัย เจ้าเก้าเถื่อนราชบุตร เจ้าผู้ครองเมืองปัวจึงได้มาปกครองเมืองย่างแทนพระอัยกา และให้ชายาดูแลเมืองปัว ในสมัยเจ้าเก้าเถื่อนพญางำเมืองเจ้าผู้ครอง[[แคว้นพะเยา|นครรัฐพะเยา]] ได้ขยายอำนาจมายังนครรัฐน่าน และเข้าครอบครองบ้านเมืองในเขตนครรัฐน่านบริเวณอำเภอปัว และอำเภอท่าวังผาในปัจจุบัน นครรัฐน่านหลุดพ้นจากอำนาจนครรัฐพะเยา
 
นครรัฐน่านมีความสัมพันธ์ทางเครือญาติกับรัฐหลวงพระบาง (หลัง พ.ศ. 1700) และรัฐสุโขทัยที่มีบรรพบุรุษจากเมืองน่านชื่อ "ปู่ฟ้าฟื้น" ดังปรากฏใน ''จารึกปู่สบถหลาน'' อันเป็นคำสัตย์ว่าสองรัฐจะไม่สู้รบกันเมื่อปี พ.ศ. 1935<ref name="สุจิตต์">{{cite web |url=http://www.sujitwongthes.com/2014/12/siam05122557/|title=พระขรรค์ชัยศรี กับดาบฟ้าฟื้น|author=สุจิตต์ วงษ์เทศ|date=5 ธันวาคม 2557|work=|publisher=Sujitwongthes.com|accessdate=19 ธันวาคม 2557}}</ref>
บรรทัด 43:
น่านมีชนพื้นเมืองดั้งเดิมคือชาวกาวเป็นชนชาติหนึ่งโดยเอกเทศ<ref name="ด้ำ">สรัสวดี อ๋องสกุล. ''ประวัติศาสตร์ล้านนา''. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ:อมรินทร์, 2552. หน้า 107</ref> แต่ต้นกำเนิดของชนชาติกาวก่อนมายังเมืองปัวยังเป็นปริศนา สรัสวดี อ๋องสกุลได้ตั้งข้อสังเกตว่าพญาภูคาอาจมีความเกี่ยวข้องกับเมืองภูคาทางตอนเหนือของ[[ประเทศลาว]] และตั้งข้อสังเกตว่าไทกาว, ไทลาว และไทเลือง (บรรพบุรุษราชวงศ์สุโขทัย) มีความสัมพันธ์กัน แต่เธอก็กล่าวว่าเป็นเพียงข้อสันนิษฐานที่ต้องสืบค้นต่อไป<ref name="ปกกาว">สรัสวดี อ๋องสกุล. ''ประวัติศาสตร์ล้านนา''. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ:อมรินทร์, 2552. หน้า 108</ref>
 
ใน ''พื้นเมืองน่าน'' ได้กล่าวถึงพญาภูคา มีราชพระโอรสสองพระองค์คือเจ้าขุนนุ่นและเจ้าขุนฟอง พญาภูคาจึงให้องค์พี่ไปสร้างเมืองหลวงพระบางปกครองชาวลาว<ref group=note>ในตำนานกล่าวถึงฤๅษีสร้างเมืองจันทบุรีให้ขุนนุ่น ซึ่งเมืองจันทบุรีคือ[[เวียงจันทน์|เมืองเวียงจันทน์]] แต่สรัสวดี อ๋องสกุลพิจารณาถึงตำแหน่งที่ตั้งเมืองตามบริบทของตำนานว่าควรเป็นเมืองหลวงพระบาง (อ้างอิง: สรัสวดี อ๋องสกุล. ''ประวัติศาสตร์ล้านนา''. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ:อมรินทร์, 2552. หน้า 107)</ref> และองค์น้องไปสร้างเมืองปัวปกครองชาวกาว<ref name="ด้ำ"/> โดยตำนานให้ภาพของเมืองปัวและหลวงพระบางเป็นพี่น้องกัน ลาวและกาวมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกันตั้งถิ่นฐานใกล้กัน<ref name="ด้ำ"/>
 
หลักฐานที่กล่าวถึงชาวกาวที่เก่าแก่ที่สุดคือ ศิลาจารึกสุโขทัยหลักที่ 1 ด้านที่ 4 ปรากฏความว่า "ทังมา กาว ลาว และไทยเมืองใต้หล้าฟ้าฏ..ไทยชาวอูชาวของมาออก"<ref name="ด้ำ"/> พื้นเมืองน่าน ฉบับวัดพระเกิด เรียกเมืองปัวซึ่งเป็นเมืองของชาวกาวว่า "เมืองกาว" หรือ "เมืองกาวเทศ" และกล่าวว่าเป็นคนไทกลุ่มหนึ่งความว่า "เมื่อนั้นชาวกาวไทยทั้งหลาย" และ "เมื่อตติยสักกราช ๗๒๗ ตัว ปีกัดใค้ สนำกุญชรชาวกาวไทยเรียกร้องกันมาแปลงโรงหลวง"<ref name="ด้ำ"/> ในตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่เรียกกษัตริย์น่านว่า "พระญากาวน่าน" และเรียกประชาชนชาวน่านว่า "กาวน่าน"<ref name="ด้ำ"/> ซึ่งสอดคล้องกับศิลาจารึกสุโขทัยหลักที่ 45 พ.ศ. 1935 เรียกผีบรรพบุรุษของกษัตริย์น่านว่า "ด้ำพงศ์กาว" ซึ่งยืนยันถึงบรรพบุรุษของกษัตริย์น่านว่าเป็นชาวกาว<ref name="ด้ำ"/> ในจารึกวัดบูรพาราม ด้านที่ 1 อ้างถึงปี พ.ศ. 1939 กษัตริย์สุโขทัยได้ขยายอาณาเขตไปยังเมืองกาว ดังความว่า "ท่านได้ปราบต์ ทั้งปกกาว" ปกหมายถึงรัฐคือรัฐกาวนั่นเอง ส่วนจารึกวัดบูรพารามด้าน 2 ซึ่งเป็นภาษาบาลี เรียกปกกาวว่า "กาวรฏฺ{{ฐํ}}" และกล่าวต่อว่าตั้งอยู่ทางทิศอุดรของสุโขทัย<ref name="ปกกาว"/>