ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไทเขิน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 34:
 
ส่วนอักษรนั้นชาวไทเขินได้รับอิทธิพลอักษรจากไทยวนจากการเผยแผ่ศาสนาในเมืองเชียงตุง ไทเขินรับ[[อักษรธรรมล้านนา]]และ[[อักษรฝักขาม]]ไปพร้อม ๆ กับศาสนา อักษรไทเขินจึงมีลักษณะคล้ายกับอักษรธรรมล้านนา รวมทั้งยังรับวรรณกรรมล้านนาที่แพร่หลายสู่เชียงตุงด้วย<ref>สรัสวดี อ๋องสกุล. ''ประวัติศาสตร์ล้านนา''. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ:อมรินทร์, 2552, หน้า 230</ref>
 
นอกจากนี้ชาวไทเขินในเชียงตุงบางส่วนที่เคยได้รับการเรียน[[ภาษาไทย]]ช่วงที่ไทยเข้าปกครอง สามารถพูดและอ่านภาษาไทยได้ดี<ref>บรรจบ พันธุเมธา. ''ไปสอบคำไทย''. กรุงเทพฯ : โครงการเผยแพร่เอกลักษณ์ของไทย กระทรวงศึกษาธิการ, 2522, หน้า 174</ref>
 
== ศาสนา ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ไทเขิน"