ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วันชัย (9 พฤษภาคม)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''วันแห่งชัยชนะ'''หรือ '''9 พฤษภาคม''' เป็นเครื่องหมายการยอมจำนนของ[[นาซีเยอรมนี]]ต่อ[[สหภาพโซเวียต]]ใน[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] (ในสหภาพโซเวียต เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า มหาสงครามรักชาติ) เริ่มครั้งแรกในสิบหกสาธารณรัฐแห่งสหภาพโซเวียต ให้หลังการลงนามตราสารยอมจำนนในคืนวันที่ 8 พฤษภาคม ค.ศ. 1945 (เป็นเวลาหลังเที่ยงคืน จึงเป็นวันที่ 9 พฤษภาคม ตาม[[เวลามอสโก]]) รัฐบาลโซเวียตประกาศชัยชนะในเช้าวันที่ 9 พฤษภาคมหลังพิธีลงนามในกรุงเบอร์ลิน แม้วันดังกล่าวเริ่มอย่างเป็นทางการใน ค.ศ. 1945 (ซึ่งหมายความว่ามีการเฉลิมฉลองตั้งแต่ ค.ศ. 1946) แต่วันหยุดนี้เป็นวันมิใช่แรงงานก็ใน ค.ศ. 1965 และเฉพาะในบางประเทศ
 
มีการเฉลิมฉลองทุกปีด้วยการสวนสนามทหาร ซึ่งสืบมาตั้งแต่ยุคสหภาพโซเวียตจนประเทศรัสเซียปัจจุบันด้วยการสวนสนามทหารครั่งแรกเดินวันที่ 24 มิถุนายน 1945([[พ.ศ. 2488]]) จากนั่นก็เว้นไป 15 ปี จนปี 1965 ([[พ.ศ. 2508]])ที่ครบรอบ20ปีวันแห่งชัยชนะก็มีการสวนสนามทหาร แต่ในปี 1975 ([[พ.ศ. 2518]])ที่ครบรอบ30ปีวันแห่งชัยชนะไม่มีการสวนสนามทหารแต่จะมีการรำลึกที่[[จัตุรัสแดง]]จนปี 1985 ([[พ.ศ. 2528]])ที่ครบรอบ40ปีวันแห่งชัยชนะและที่ตรงกับสมัย[[มิคฮาอิล กอร์บาชอฟ]]มีการจัดการสวนสนามทหาร และปี 1990 ([[พ.ศ. 2533]]) ที่ครบรอบ45ปีวันแห่งชัยชนะ จนสมัย[[สหพันธรัฐรัสเซีย]] ปี 1995 ([[พ.ศ. 2538]])ที่ครบรอบ50ปีวันแห่งชัยชนะก็จัดการสวนสนามทหารมาตั่งแต่ ปี1995 จนปัจจุบัน
มีการเฉลิมฉลองทุกปีด้วยการสวนสนามทหาร ซึ่งสืบมาตั้งแต่ยุคสหภาพโซเวียตจนประเทศรัสเซียปัจจุบัน
 
[[หมวดหมู่:การสวนสนามทหาร]]