ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยุทธการที่อิโวะจิมะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘(?mi)\{\{Link GA\|.+?\}\}\n?’ ด้วย ‘’: เลิกใช้ เปลี่ยนไปใช้วิกิสนเทศ
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{กล่องข้อมูล การรบ
|ชื่อการรบ= ยุทธการที่อิโวะจิมะ
|สงคราม=[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]และ, [[สงครามมหาสมุทรแปซิฟิก]]
|รูปภาพimage=[[ไฟล์:First37mm IwoGun Jimafires Flagagainst Raisingcave positions at Iwo Jima.jpg|300275px]]
|caption= ปืนใหญ่ 37 มม. ของสหรัฐยิงใส่ที่ตั้งถ้ำของญี่ปุ่นแนวด้านทิศเหนือของ[[ภูเขาสุริบะชิ]]
|คำบรรยาย=การปัก[[ธงชาติสหรัฐอเมริกา]]ครั้งแรก ที่ยอด[[เขาสุริบาชิ]]<br />[[23 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2488]]
|วันที่date=[[19 กุมภาพันธ์|19 ก.พ.]] [[พ.ศ. 2488|2488]] - [[26 มีนาคม|26 มี.ค.]] [[พ.ศ. 2488|2488]]1945
|สถานที่place=[[เกาะอิโวะจิมะ]], [[ประเทศญี่ปุ่นหมู่เกาะโวลเคโน]]
|ผลการรบresult=[[กองทัพสหรัฐ อเมริกา]]เป็นฝ่ายชนะ
|ผู้ร่วมรบcombatant1=[[ไฟล์:US {{flag 48 stars.svg|23px]][[สหรัฐอเมริกา]]|1912}}
|ผู้ร่วมรบcombatant2=[[ไฟล์:Flag of Japan.svg{{flag|23px|border]][[จักรวรรดิญี่ปุ่น]]}}
|commander1={{Flagicon|USA|1912}} [[Holland Smith|ฮอลแลนด์ สมิท]]<br>{{Flagicon|USA|1912}} [[Marc Mitscher|มาร์ค มิตเชอร์]]<br>{{Flagicon|USA|1912}} [[Graves B. Erskine|เกรฟส์ บี. เออร์สคีน]]<br>{{Flagicon|USA|1912}} [[Clifton Cates|คลิฟตอน เคตส์]]<br>{{Flagicon|USA|1912}} [[Keller E. Rockey|เคลเลอร์ อี. ร็อกกี]]<br>{{Flagicon|USA|1912}} [[Chester W. Nimitz|เชสเตอร์ ดับเบิลยู. นิมิตซ์]]<br>{{Flagicon|USA|1912}} [[Raymond A. Spruance|เรย์มอนด์ เอ. สปรูแอนซ์]]
|ผู้บัญชาการ1=[[ไฟล์:Flag of the United States.svg|23px]] [[ฮอลแลนด์ สมิท]]
|commander2={{Flagicon|Empire of Japan}} [[Tadamichi Kuribayashi|ทะดะมิชิ คุริบะยะชิ]]{{KIA}}<br>{{Flagicon|Empire of Japan}} [[Takeichi Nishi|ทะเคชิ นิชิ]]{{KIA}}
|ผู้บัญชาการ2=[[ไฟล์:Flag of Japan.svg|23px|border]][[ทาดามิจิ คุริบายาชิ]]{{ตายในการรบ}}
|strength1= นาวิกโยธินสหรัฐ เหล่าพยาบาล (corpsmen) กองทัพเรือสหรัฐ ฯลฯ และทหารอากาศกองทัพอากาศสหรัฐ 70,000 นาย
|กำลังพล1=110,000 คน<br />
|strength2= 22,060 นาย<ref name=Burrell83/>
|กำลังพล2=22,000 คน<br />
|casualties1= เสียชีวิต 6,821 นาย<br>ถูกจับแต่ได้กลับคืน 2 นาย<ref name="morison"/><br>บาดเจ็บ 19,217 นาย<ref name=Burrell83/> เรือบรรทุกคุ้มกันจม 1 ลำ
|ความสูญเสีย1=ตาย 8,226 คน<br />บาดเจ็บ 19,189 คน<br />สูญหาย 494 คน<br />'''รวม 27,909 คน'''
|casualties2= เสียชีวิต 18,844 นาย<ref name=Burrell83/><br>ถูกจับเป็นเชลย 216 นาย<ref name=Burrell83/><br>
|ความสูญเสีย2=ตาย 20,703 คน<br />ตกเป็นเชลย 216 คน<br />'''รวม 20,919 คน'''
ซ่อนตัว ~3,000 นาย<ref>[[John Toland (author)|John Toland]], ''[[The Rising Sun: The Decline and Fall of the Japanese Empire, 1936–1945]]'', page 669</ref>}}
|หมายเหตุ =
}}
{{Campaign Ryukyus}}
'''ยุทธการอิโวะจิมะ''' เป็นการรบที่เกิดขึ้นระหว่าง[[สหรัฐอเมริกา]]กับ[[ญี่ปุ่น]]ที่เกาะอิโวะจิมะ ในระหว่างเดือน[[กุมภาพันธ์]] - [[มีนาคม]] [[พ.ศ. 2488]] และนับเป็นส่วนหนึ่งของ[[สงครามมหาสมุทรแปซิฟิก]] ฝ่ายสหรัฐอเมริกาได้วางแผนการรบครั้งนี้ในชื่อ '''ปฏิบัติการดีแทชเมนต์''' (Operation Detachment) โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะยึดสนามบินที่อยู่บนเกาะนี้ใช้เป็นฐานบินโจมตีประเทศญี่ปุ่น
เส้น 45 ⟶ 44:
 
หลังจากการรบแห่ง[[เกาะเลเต]]ที่[[ฟิลิปปินส์]]ได้สิ้นสุดลง ฝ่ายสัมพันธมิตรจึงเหลือเวลาอีกสองเดือนเต็ม ที่จะเริ่มปฏิบัติการณ์เพื่อเตรียมการบุกยึดเกาะโอกินาวา ในส่วนของเกาะอิโวะจิมะนั้น ถือว่ามีความสำคัญทางยุทธศาสตร์อย่างมาก เนื่องจากเกาะนี้เป็นฐานทัพอากาศให้กับเครื่องบินรบญี่ปุ่นที่คอยเข้าสกัดเครื่องบินทิ้งระเบิดระยะไกล B-29 ทั้งยังเป็นท่าจอดเรือรบญี่ปุ่นในยามฉุกเฉิน การยึดเกาะอิโวะจิมะจะกำจัดปัญหาเหล่านี้ไป และจะปูทางให้กับการบุกยึดแผ่นดินแม่ของญี่ปุ่น การบุกยึดจะทำให้ระยะทางที่ B-29 จะต้องบินลดลงไปเกือบครึ่ง และจะเป็นฐานให้กับเครื่องบินขับไล่มัสแตง P-51 ได้ทำหน้าที่ได้การคุ้มกันเครื่องบินทิ้งระเบิด ฝ่ายข่าวกรองนั้นมั่นใจว่าอิโวะจิมะจะถูกยึดภายใน 5 วันแน่นอน หารู้ไม่ว่าฝ่ายญี่ปุ่นได้เตรียมการป้องกันมาอย่างสมบูรณ์แบบ และใช้กลยุทธที่แตกต่างจากการรบที่ผ่านๆ มา การป้องกันนั้นดีมากเสียจนระเบิดเป็นร้อยๆ ตันจากเครื่องบินทิ้งระเบิดและปืนใหญ่ที่ระดมยิงจากเรือรบเป็นพันๆ นัดของฝ่ายพันธมิตร แทบจะทำอะไรกับฝ่ายป้องกันไม่ได้เลย ทั้งยังพร้อมที่จะสร้างความเสียหายกับนาวิกโยธินสหรัฐฯ อย่างร้ายแรงที่สุดเท่าที่เคยเกิดขึ้นในสงครามแปซิฟิก เมื่อข้อมูลข่าวกรองเป็นใจ การบุกยึดเกาะอิโวะจิมะจึงได้รับการอนุมัติ โดยการบุกขึ้นหาดมีชื่อรหัสปฏิบัติการว่า "ปฏิบัติการดีแทชเมนต์"
 
{{โครงประวัติศาสตร์}}
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:สงครามมหาสมุทรแปซิฟิก]]
[[หมวดหมู่:ยุทธการและปฏิบัติการทางทหารในสงครามโลกครั้งที่สอง]]
{{โครงประวัติศาสตร์}}