ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เสือฝ้าย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ref
Awksauce (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 6:
 
== ระหว่างที่เป็นเสือ ==
วิธีการปล้นของฝ้าย เจตจำนงนั้นผิดกับโจรทั่วไป กล่าวคือ เสือฝ้าย กับพรรคพวกมิได้ชิงทรัพย์เพื่อยังชีพ โดยประทังให้ปัจจัยสี่ไม่ขาดแคลน เสือฝ้าย จงใจเล่นงานบรรดาเศรษฐี ผู้มีอำนาจในท้องถิ่นนั้นๆนั้น ๆ โดยเฉพาะพวกแปดเปื้อนมลทิน กลิ่นคาวฉาวโฉ่ ประเภทฉ้อโกง ขูดรีด และอาศัยอำนาจในการทำให้ตัวเองร่ำรวย นี่คือเป้าหมายของ เสือฝ้าย ด้วยเหตุนี้ คนยากหรือผู้ขัดสนทรัพย์สินศฤงคาร จึงรอดพ้นเงื้อมมือเสือฝ้าย หนำซ้ำ ยังจะได้ ‘ทรัพย์’ อันเป็นผลพลอยได้อีกต่างหาก การกระทำของ เสือฝ้าย เช่นนี้เอง ชาวบ้านถิ่นสุพรรณต่างพร้อมใจเป็นปราการด่านแรก เพื่อป้องกันเสือฝ้าย อาทิ การบิดเบือนข้อมูลหรือให้การเท็จกับตำรวจ ให้ข้อมูลเสือฝ้ายเกี่ยวกับความเคลื่อนไหวของทางการ สำหรับชาวบ้านเสือฝ้าย เปรียบเหมือนเป็นญาติในครอบครัวเดียวกัน
 
กลุ่มเสือฝ้ายเป็นชุมโจรที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์โจรเมืองไทย เพราะมีสมุนโจรรวมกันไม่ต่ำกว่า 100 ถึง 200 คน เทียบกับชุมโจรอื่นในยุคนั้นจะมีโจรเพียง 10 กว่าคนเท่านั้น ชุมโจรเสือฝ้ายตกเป็นข่าวหน้าหนึ่งใน[[หนังสือพิมพ์]]สมัยนั้นอยู่บ่อยครั้ง
 
== มรณกรรม ==
ภายหลังในปี [[พ.ศ. 2489]] เสือฝ้ายได้ช่วยเหลือทางการในการปราบปรามชุมโจรอื่นๆอื่น ๆ และเข้ามอบตัวในที่สุด แต่แล้วในระหว่างทางที่เสือฝ้ายถูกควบคุมตัวไป[[กรุงเทพมหานคร|กรุงเทพฯ]] จะเกิดเหตุอะไรขึ้นไม่ทราบ เสือฝ้ายได้ถูกนายร้อยตำรวจเอกที่ควบคุมตัวกระทำ[[วิสามัญฆาตกรรม]]ที่วัดโพธิ์ทอง [[จังหวัดอ่างทอง]]
 
== ภาพยนตร์ ==
ในภาพยนตร์เรื่อง [[สามเสือสุพรรณ (ภาพยนตร์) | สามเสือสุพรรณ]] บทของ เสือฝ้ายนำแสดงโดย [[สมชาย อาสนจินดา]] หรือ [[สมชาย อาสนจินดา | ส. อาสนจินดา]]
 
== ดูเพิ่มเติม ==