ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงงาน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Science for living (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 3:
 
[[หมวดหมู่:การผลิต]]
[[หมวดหมู่:การปฏิวัติอุตสาหกรรม]]<br />
 
'''การแยกประเภทอุตสหกรรมตามโรงงานอุตสหกรรม'''
<br />
จำแนกตามกฎกระทรวง (พ.ศ.2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535<br />
[http://thailandindustry.blogspot.com/2012/11/blog-post.html ประเภทโรงงานหลัก107ประเภท]
 
'''การประเมินความเสี่ยง(Risk assessment)''' <br />
'''ความเสี่ยง''' หมายถึง โอกาศที่จะเกิดความผิดพลาดและความรุนแรงที่ส่งผลให้เกิดความเสียหายต่อชีวิตและทรัพสิน<br />
เรื่องความเสี่ยงและอันตรายที่เกิดขึ้นไม่ว่าจะอยู่ในรูปแบบอย่างไรก็ตามหรือมากน้อยเพียงใดย่อมส่งผลเสียต่อโรงงานอุตสาหกรรมหรือสถานประกอบอย่างแน่นอน ซึ่งจะมีผลต่อประสิทธิภาพในการทำงานของพนักงานลดน้อยลง ขึ้นอยู่กับว่าความเสี่ยงนั้นจะขึ้นอยู่ในเกณฑ์ที่รับได้หรือรับไม่ได้ "ความเสี่ยงจะต้องประกอบด้วย 2 องค์ประกอบคือ "ไม่แน่นอน"และ"ไม่พึ่งประสงค์""<ref>(พงศ์เทพ วิวรรธนะเดช , 2547 : 12)</ref> คำว่าไม่แน่นอนนั้นหมายถึง เราไม่สามารถหมั่นใจหรือการันตีได้ว่าจะเกิดหรือไม่ แต่สามารถคาดคะเนโอกาศที่จะเกิดในรูปแบบความน่าจะเป็น ส่วนคำว่า ไม่พึงประสงค์ นั้นหมายถึง เหตุหรือสิ่งที่ไม่ต้องการให้เกิดขึ้น อันเนื่องมาจากอะไรก็ตามที่ส่งผลเสียหรือเสี่ยงต่อผลกระทบต่างๆ<br />
ในชีวิตประจำวันของมนุษย์เรานั้น จริงๆแล้วมีความเสี่ยงอยู่ตลอดเวลา ทั้งในด้านการดำเนินชีวิต เช่น การเดินทางต้องใช้รถใช้ถนนซึ่งอาจเกิดอุบัติเหตุได้เสมอ การทำงานในโรงงานก็อาจเกิดอุบัติเหตูจากเครื่องจักร สารเคมี และในด้านสิ่งแวดล้อมหรือภับพิบัติทางธรรมชาติ ซึ่งสิ่งหล่าวนี้ถือเป็นความเสี่ยงที่มีโอกาศเกิดขึ้นได้เสมอ ดังนั้นเราควรมีการจัดการและประเมินความเสี่ยงถึงอันตรายที่จะเกิดขึ้นในการใช้ชีวิตประจำวัน<br />
'''การประเมินความเสี่ยง'''<br />
หมายถึง การวิเคราะห์ความเสี่ยง สาเหตุและผลกระทบที่อาจเกิดจากความเสี่ยงรวมถึงกระบวนการหรือแนวทางแก้ไขปัญหาการควบคุมป้องกันและบริหารจัดการความปลอดภัย
อีกความหมายหนึ่งก็คือ"กระบวนการศึกษาอย่างเป็นระบบเพื่อพรรณนาและวัดความเสี่ยงที่มีความสัมพันธ์กับสิ่งที่คุกคาม กระบวนการ การกระทำ หรือเหตุการณ์ใดๆ"<ref>(พงศ์เทพ วิวรรธนะเดช , 2547 : 13)</ref>ซึ่งอาจกล่าวได้ว่า การประเมินความเสี่ยงเป็นการวิเคราะห์ถึงปัญหาและต้นเหตุที่จะทำให้เกอดอันตรายและความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สิน เมื่อเรารู็สาเหตุที่ทำให้เกิดความเสี่ยงเราก็สามารถว่างแผนและกำหนดมาตการในการป้องกันความเสี่ยงที่จะเกิดรวมถึงคิดแนวทางควบคุมผลกระทบที่อาจเกิดตามมาจากอุบัติเหตุหรือความเสี่ยงที่ก่อให้เกิดความเสียหายได้<br />
 
'''วัตถุประสงค์'''<br />
ในการทำงานรวมกันในองค์กรแน่นอนว่าต้องมีเป้าหมายในการทำงาน ถ้าไม่มีเป้าหมายและแผนดำเนินงานก็ไม่สามารถที่จะทำงานออกมาให้มีประสิทธิภาพได้ ฉะนั้นการทำงานจะต้องมีการกำหนดวัตถุประสงค์ที่กำหนด เพื่อที่จะสามารถตรวจสอบและวัดผลประเมินว่า งานประสบความสำเร็จแค่ไหน มีปัญหาอะไรควรปรับปรุงอย่างไรและควรพัฒนาอะไร ในโรงงาก็เช่นกันต้องมีวัตถุประสงค์และแผนดำเนินงาน แต่จะเป็นอย่างรัยขึ้นอยู่กับชนิดหรือประเภทของโรงงาน แต่ละประเภทของโรงงานก็มีความใกล้เคียงกันในเรื่องของความปลอดภัย ซึ่งวัตถุประสงค์ในการประเมินความเสี่ยงในโรงงานสามารถแบ่งออกได้ดังนี้<br />
- เพื่อประเมินสาเหตุและโอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง<br />
- เพื่อกำหนดแผ่นการหรือแนวทางในการดำเนินงาน<br />
-หามาตการป้องกันและควบคุมความเสี่ยงให้อยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้ เพื่อลดการสูญเสียในด้านทรัพย์สินและอุบัติเหตุที่จะเกิด<br />
-เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการทำงานของพนักงาน<br />
 
'''ขั้นตอนประเมินความเสี่ยง''' <br />
1) '''การระบุปัจจัยเสี่ยง''' (Risk Iden tification) เป็นการหาสาเหตุหรือปัจจัยที่ส่งผลเสี่ยง ทั้งปัจจัยภายในและภายนอก "ในการระบุปัจจัยเสี่ยงฝ่ายบริหารจำเป็นต้องตั้งคำถามว่า มีเหตุการณ์ใดหรือกิจกรรมใดของกระบวนการปฎิบัติงานที่อาจเกิดความผิดพลาด ความเสียหายและการบรรจุวัตถุประสงค์ที่กำหนด รวมทั้งมีทรัพย์สินไว้ที่จำเป็นจะต้องได้รับการดูแลรักษา"<ref>การประเมินความเสี่ยง.(ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://herb.tisi.go.th/central/audit/pdf/risk_assessment.pdf. 3 มีนาคม 2558</ref> เช่นความเสี่ยงจากเครื่องจักร ที่ไม่ได้มาตรฐานไม่ปลอดภัยอาจเกิดอันตรายหรือเกิดอุบัติเหตุต่อพนักงาน<br />
2) '''วิเคราะห์ความเสี่ยง''' (Risk Ana lysis) เมื่อรู้ปัจจัยหรือสาเหตุของความเสี่ยงที่เป็นอันตราายหรือก่อให้เกิดความเสียหายเราสามารถ "วิเคราะห์พิจราณาถึงโอกาศและความรุนแรงของอันตรายที่ชี้บ่งออกมาได้ ซึ่งอาจก่อให้เกิดเพลิงไหม้ การระเบิด การรั่วไหลของสารเคมี"<ref>การประเมินความเสี่ยง.(ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://herb.tisi.go.th/central/audit/pdf/risk_assessment.pdf. 3 มีนาคม 2558</ref> เพื่อพิจารณาว่า มันีโอกาสเกิดได้มากน้อยเพียงใดและมีความรุนแรงในระดับบริเวณแคบหรือกว้าง<br />
3) '''การบริหารความเสี่ยง''' (Risk Management) เมื่อรูสาเหตุและปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงและวิเคาระห์ถึงความเป็ไปได้ของโอกาศที่จะเกิดความเสี่ยง เรานำข้อมูลหล่าวนี้ไปหาแนวทางการป้องกันและควบคุมเพื่อลดความสูญเสียและแก้ไขปัญหาได้ตรงจุด กิจกรรมควบคุมและป้องกันความเสี่ยงควรปรับเปลี่ยนอยู่เสอมเพื่อให้เหมาะสมกับเหตุการณ์และปัญหาที่เกิดขึ้น<br />
 
'''การจัดการความเสี่ยงในโรงงาน (Risk Management)''' <br />
การจัดการความเสี่ยงเป็นการบริหารจัดการความเสี่ยงในโรงงานที่มีความสำคัญในการประกอบธุรกิจด้านต่างๆ การจัดการความเสี่ยงในโรงงานที่เกี่ยวกับการจัดการกับเหตุการณ์ที่จะประสบขึ้นความล้มเหลวและเกิดความสูญเสียหลายด้าน ล้วนแล้วเกิดจากภัยธรรมชาติ เช่น แผ่นดินไหว คลื่นยักษ์สึนามิ ลมพายุ และเหตุระเบิด และการจัดการความเสี่ยงกับเหตุการณ์ที่คนบาดเจ็บล้วนแล้วเกิดจากความปรัมาท หรือเกิดจากตัวเครื่องจักรที่ไม่มีการตรวจสอบให้ดีก่อนการใช้งาน จึงทำให้เกิดอุบัติเหตุได้ ดังนั้น การจัดการความเสี่ยงในโรงงานถือเป็นกระบวนการประเมินผล ควบคุม หรือลด และยอมรับความเสี่ยง โดยสรุปว่า"การจัดการความเสี่ยง เป็นเรื่องของการชี้บ่งอันตรายที่มีอยู่ในการดำเนินงานโดยการประมาณระดับความเสี่ยงและการควบคุมความเสี่ยง รวมถึงการเฝ้าระวังตรวจประเมินและทบทวนการดำเนินงานที่ผ่านมา"<ref>(สราวุธ สุธรรมาสา. 2574.5-6)</ref><br />
'''เฝ้าระวังตรวจประเมินทบทวน'''<br />
- ชี้บ่งอันตราย<br />
- ชี้บ่งความเสี่ยง<br />
- ประเมินความเสี่ยง<br />
- ควบคุมความเสี่ยง
 
<ref>อนามัย(ธีรวิโรจน์)เทศกะทึก. 2554 การประเมินผลกระทบต่อ สุขภาพ. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย : ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถนนพญาไท เขตประทุมวัน กรุงเทพฯ 10330</ref>
<ref>พงศ์เทพ วิวรรธนะเดช. 2547. การประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพ. บริษัท ไซเบอร์เพชร จำกัด. กลุ่มศึกษาปัญหาสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ</ref>
<ref>สราวุธ สุธรรมาสา. 2547. การบริหารงาน อาชีวอนามัยและความปลอดภัย. สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโคทัยธรรมาธิราช : ห้างหุ้นส่วนจำกัด อรุณการพิมพ์ 457/6-7 ถนนพระสุเมรุ เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200</ref><br />
 
 
'''อาชีวอนามัยและความปลอดภัยในโรงงาน (Occupational Health and Safety )'''<br />
เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านสาขาวิชา อาชีวอนามัยและความปลอดภัย เป็นงานที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมดูแล สุขภาพอนามัยของผู้ประกอบอาชีพทั้งหมดในโรงงานอุตสาหกรรม ทั้งด้านการป้องกันและสงเสริมสุขภาพอนามัย ทั้งด้านร่างกาย รวมทั้งทางด้านจิตใจของผู้ประกอบอาชีพในโรงงานอุตสาหกรรม<ref>http://www.bangpoosociety.com/forum/index.php?action=dlattach;topic=232.0;attach=2137</ref><br /><br />
 
'''การขึ้นทะเบียนโรงงาน ( The registration of plant )'''<br />
โรงงานจำพวกที่ 1 เป็นโรงงานที่สามารถประกอบกิจการได้ทันทีตามความประสงค์ของผู้ประกอบกิจการแต่ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดตามกฎกระทรวง
- ไม่ต้องยื่นขออนุญาตสามารถประกอบกิจการได้ทันที แต่ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่ทางกระทรวงได้กำหนดไว้ ได้แก่ สถานที่ตั้งโรงงาน ลักษณะอาคาร การควบคุมการปล่อยของเสีย
โรงงารจำพวกที่ 2 เป็นโรงงานที่ไม่ต้องขออนุญาต แต่ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดเช่นกัน และเมื่อจะเริ่มประกอบกิจการโรงงานให้แจ้งต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ทราบก่อน
- ยื่นเอกสารใบขออนุญาตและชำระค่าธรรมเนียมรายปี หลังจากนั้นจะได้รับใบแจ้งประกอบกิจการ จึงจะสามารถเริ่มประกอบกิจการได้
โรงงานจำพวกที่ 3 เป็นโรงงานที่ต้องได้รับใบอนุญาตก่อนจึงจะตั้งโรงงานได้
- ยื่นคำขอใบอนุญาตและจะมีเจ้าหน้าที่ตรวจสอบสถานที่ แล้วหลังจากนั้นจะมีเจ้าหน้าที่แจ้งผลให้ทราบ ถ้าได้รับการอนุญาตจะต้องชำระค่าธรรมเนียมใบอนุญาต รง 4 เพราะเป็นโรงงานที่มีการติดตั้งเครื่องจักร
เมื่อชำระค่าธรรมเนียมแล้วสามารถประกอบกิจการได้<ref>http://www.thaichamber.org/scripts/detail.asp?nNEWSID=1216</ref><br />
 
'''กฏระเบียบความปลอดภัยของพนักงานในโรงงาน(Regulatory safety flap in the factory)'''<br />
1.การเดินเข้าไปในโรงงานต้องเดินชิดซ้าย ห้ามเดินล้วงกระเป๋า<br />
2.การเดินขึ้นลงบันได ให้มองที่ขั้นบันได และจับที่ราวบรรไดเสมอ<br />
3.ก่อนและหลังการทำงานกับเครื่องจักรต้องตรวจเครื่องจักรเสมอ หากมีปัญหาต้องแจ้งหัวหน้างานให้ทราบทันที<br />
4.ห้ามเคลื่อนย้ายเครื่องกำบังอันตรายออกจากเครื่องจักร<br />
5.ไม่เล่นในขณะปฏิบัติงานเพราะอาจจะทำให้เกิดอันตรายได้<br />
6.ต้องปฏิบัติตามระเบียบและตามป้ายเตือนหรือป้ายห้ามที่ติดไว้<br />
7.เมื่อเกิดอุบัติเหตุ ต้องแจ้งให้หัวหน้างานหรือเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทราบ<br />
8.ห้ามนำอาหารหรือเครื่องดื่มเข้ามารับประทานในโรงงานเป็นอันขาด<br />
9.ต้องสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันความปลอดภัยก่อนที่จะปฎิบัติงานเสมอ<br />
10.เก็บรักษาเครื่องมือและเครื่องใช้ให้เป็นระเบียบเรียบร้อย<br />
11.สูบบุหรีในเวลาและพื้นทีที่ควร<br />
12.หากทำงานเกี่ยวกับสารเคมีควรล้างมือให้สะอาดก่อนรับประทานอาหารทุกครั้ง<br />
13.รักษาความสะอาดพื้นทีทำงานก่อนทำงานและหลังเลิกงาน<br />
14.ห้ามวางสื่งของที่กีดขวางเครื่องดับเพลิงหรือทางหนีไฟ<br />
15.จะไม่ใช้ประตูฉุกเฉินเป็นททางเข้า-ออก<br />
16.ไม่ควรเล่นเคื่องดับเพลิงหรือไปกดสัญญาณแจ้งเหุตฉุกเฉินเล่นโดยไม่มีเหุตการณ์เกิดขึ้น<ref>http://forums.thaisafetywork.com/index.php?topic=3812.0</ref>
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/โรงงาน"