ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เหงื่อ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 13:
เหงื่อจะเกิดขึ้นเมื่อร่างกายของเราสัมผัสกับสิ่งกระตุ้นของ "[[ความร้อน]]" และ "[[อารมณ์]]" ซึ่งทำให้[[สมอง]]หลั่งสารเคมีชื่อ แอซีทิลโคลีน (Acetylcholine) ที่อยู่บริเวณ[[ปลายประสาท]]ออกมากกระตุ้น[[ต่อมเหงื่อ]]ให้ผลิตเหงื่อ
 
== ปริมาณเหงื่อของแต่ละคนขึ้นอยู่กับ 3 ปัจจัย คือ ==[[อากาศ]] ความผันผวนของอากาศ ซึ่งอากาศร้อนมีความชื้นในอากาศสูงจะทำให้เหงื่อออกมากกว่าวันที่ฝนตกซึ่งมีความชื้นในอากศต่ำ
[[อากาศ]] ความผันผวนของอากาศ ซึ่งอากาศร้อนมีความชื้นในอากาศสูงจะทำให้เหงื่อออกมากกว่าวันที่ฝนตกซึ่งมีความชื้นในอากศต่ำ
 
กิจกรรมที่ทำในแต่ละวัน หากต้องออกแรงมากจะทำให้เหงื่อออกมากซึ่งตรงข้ามกับผู้ที่ไม่ค่อยจะออกแรง
 
 
==== ปัจจัยเสริม ====
โรคบางชนิดสามารถทำให้ปริมาณของเหงื่อเปลี่ยนแปลได้ เช่น โรคเครียด ต่อมไทรอยด์เป็นพิษหรือคอพอก วัณโรค เบาหวาน โรคหัวใจ ภาวะใกล้หมดประจำเดือน สิ่งเหล่านี้ทำให้เหงื่อออกมาก ส่วนโรคผิวหนังไม่ว่าจะเป็นผด ผื่น สะเก็ดเงิน ผิวหนังแตกหยาบ ไมเกรนจะทำให้เหงื่อออกน้อย
 
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/เหงื่อ"