ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อีปอลิต ฟีโซ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล นักวิทยาศาสตร์
| name = ฮิปโปอีปอลิต ฟิโซฟีโซ
| image = Hippolyte Fizeau.jpg
| image_size = 180px
| caption =
| birth_date = อาร์ม็อง ฮิปโปอีปอลิต ลุยส์หลุยส์ ฟิโซฟีโซ<br>{{Birth date|1819|9|23|df=yes}}
| birth_place = [[ปารีส]] [[ฝรั่งเศส]]
| death_date = {{Death date and age|1896|9|18|1819|9|23|df=yes}}
| death_place = วองเตยว็องเตย ฝรั่งเศส
| cause of death =
| residence =
บรรทัด 16:
}}
 
'''ฮิปโปอาร์ม็อง อีปอลิต ฟิโซหลุยส์ ฟีโซ''' ({{lang-fr|Hippolyte Fizeau}}; [[23 กันยายน]] [[ค.ศ. 1819]] – [[18 กันยายน]] [[ค.ศ. 1896]]) เป็น[[นักฟิสิกส์]][[ชาวฝรั่งเศส]]
 
== ประวัติ ==
ฮิปโปอีปอลิต ฟิโซฟีโซ เกิดเมื่อ ค.ศ. 1819 เป็นบุตรชายของลุยส์และเบียทริเช่หลุยส์และเบอาทริส ฟิโซฟีโซ<ref>[http://link.springer.com/referenceworkentry/10.1007%2F978-1-4419-9917-7_460 Fizeau, Armand-Hippolyte-Louis]</ref> ผลงานแรกของเขาคือการช่วยปรับปรุงกระบวน[[การถ่ายภาพ]]<ref>[http://image.eastmanhouse.org/files/GEH_1952_01_05.pdf]</ref> ฟิฟีโซและเพื่อนนักฟิสิกส์อีก 2 คนคือ ฟร็องซัว อะอาราโก และ[[เลอง ฟูโก]]ได้ร่วมกันศึกษาคุณสมบัติของ[[ความร้อน]]และ[[แสง]] จนในปี ค.ศ. 1848 ฟิฟีโซก็ได้ทำนายถึงปรากฏการณ์[[การเคลื่อนไปทางแดง]] (redshift)
 
หนึ่งปีต่อมา ฟิฟีโซได้ทำการหาค่า[[อัตราเร็วของแสง]] จนได้ค่าที่ใกล้เคียงกว่าค่าเดิมของ[[โอเลอ เรอเมอร์]] เขาใช้วิธีการฉายแสงไปที่กระจกที่อยู่ห่างออกไป 8 กิโลเมตร โดยให้แสงผ่านช่องว่างระหว่างกงล้อที่หมุนด้วยความเร็ว โดยความเร็วของกงล้อจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆเรื่อย ๆ จนกระทั่งแสงสะท้อนกลับมายังช่องว่างถัดไป<ref>[http://www.rmutphysics.com/charud/virtualexperiment/virtual1/lightspeed/lightspeed2.html วิธีของฟิโซ -- ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล]</ref> ค่าที่ฟิฟีโซคำนวณได้นั้นเท่ากับ 313,300 กิโลเมตร/วินาที ซึ่งคลาดเคลื่อนจากค่าปัจจุบัน (299,792.458 กิโลเมตร/วินาที) เพียงห้าเปอร์เซ็นต์เท่านั้น ต่อมาในปี ค.ศ. 1848 ฟิฟีโซค้นพบ[[ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์]]<ref>[https://thescienceclassroom.wikispaces.com/Armand+Hippolyte+Louis+Fizeau Armand Hippolyte Louis Fizeau -- The Science Classroom]</ref> (หลังดอปเพลอร์ค้นพบ 6 ปี) ห้าปีต่อมา เขาก็เริ่มใช้คำว่า ''capacitor'' ([[ตัวเก็บประจุ]]) เมื่อศึกษาขดลวดเหนี่ยวนำ
 
ฮิปโปอีปอลิต ฟิโซฟีโซ เสียชีวิตในปี ค.ศ. 1896 ขณะมีอายุได้ 76 ปี
 
== อ้างอิง ==