ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระไชยบูลย์ ธมฺมชโย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ 207.244.66.70 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Famefill
Sacred l008 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
| ชื่อเดิม = ไชยบูลย์ สุทธิผล
| ชื่อ = ไชยบูลย์ สุทธิผล
| สมณศักดิ์ = พระเทพญาณมหามุนี <br>(ไชยบูลย์ ธมฺมชโย)
| ชื่อภาพ =
| วันเกิด = 22 เมษายน พ.ศ. 2487
บรรทัด 13:
| สังกัด = [[มหานิกาย]]
| วุฒิ = [[น.ธ.โท]], [[คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์|วท.บ. (เศรษฐศาสตร์เกษตร)]]
| ตำแหน่ง = เจ้าอาวาส[[วัดพระธรรมกาย]]
}}
 
บรรทัด 23:
ในวัยเด็กมักค้นคว้าหาความรู้ด้านธรรมะ และคำถามที่ติดอยู่ในใจเสมอคือ "เราเกิดมาทำไม และอะไรคือเป้าหมายชีวิต" จึงได้แสวงหาคำตอบเรื่อยมา ขณะที่เรียนอยู่ที่[[โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย]]หลังจากได้ฟังการบรรยายธรรมจากวิทยากรท่านต่าง ๆ ร่วมกับเพื่อนตั้งชุมนุมยุวพุทธ
 
พ.ศ. 2506 เมื่อขณะศึกษาอยู่ชั้น ม. 8 (เทียบเท่า ม. 6 ปัจจุบัน) กำลังเตรียมสอบเข้ามหาวิทยาลัย ได้อ่านพบหนังสือชื่อ "วิปัสสนาบันเทิงสาร" ลงเรื่อง[[จันทร์ ขนนกยูง]]ซึ่งได้ศึกษาวิชชาธรรมกายมาจาก[[พระมงคลเทพมุนี]] (สด จนฺทสโร) จาก วัดปากน้ำภาษีเจริญ จึงได้ไปขอเรียนการปฏิบัติธรรมจากนางจันทร์ ขนนกยูง{{อ้างอิง}}
เมื่อเรียนจบ[[ปริญญาตรี]]สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร จาก[[มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]]แล้ว ได้[[บรรพชา]]อุปสมบท เมื่อวันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2512 ณ พัทธสีมา[[วัดปากน้ำภาษีเจริญ]] โดยมีพระเทพวรเวที (ปัจจุบันคือ [[สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์]] เจ้าอาวาสวัดปากน้ำ [[เขตภาษีเจริญ]]) เป็นพระอุปัชฌาย์<ref>[http://www.dhammakaya.net/whoweare/Sun_of_peace_Ven.Dhammajayo_biography10_th.php ประวัติหลวงพ่อธัมมชโย: เข้าสู่ร่มผ้ากาสาวพัสตร์]</ref> โดยได้รับฉายาว่า "ธมฺมชโย" แปลว่า "ผู้ชนะโดยธรรม" พระครูพิพัฒน์ธรรมคณี เป็น พระกรรมวาจาจารย์ พระวิเชียรกวี เป็นพระอนุสาวนาจารย์
บรรทัด 129:
นอกจากนั้นในหมู่ของชาว[[วัดพระธรรมกาย]]ได้รับคำสั่งสอนและให้คุณค่าของการกระทำความดีอย่างเอาชีวิตเป็นเดิมพันว่า คือการสร้างบารมีตามเยี่ยงอย่างพระบรมโพธิสัตว์ในกาลก่อน และ เป็นสิ่งที่ชาวพุทธที่ดีควรกระทำเป็นอย่างยิ่ง{{อ้างอิง}}
 
วัดพระธรรมกายภายใต้การนำของพระเทพญาณมหามุนี (ไชยบูลย์ ธมฺมชโย) มีความตั้งใจสร้างความสามัคคีของคณะสงฆ์และพุทธบริษัทสี่ทั่วโลก พระเทพญาณมหามุนี (ไชยบูลย์ ธมฺมชโย) ได้ดำริโครงการต่างต่างๆ และสร้างงานบุญพิธีอันยิ่งใหญ่อย่างต่อเนื่องในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การระดมทุนเพื่อการสร้างศาสนวัตถุขนาดใหญ่, เพื่อรองรับการฝึกอบรมในโครงการต่างๆ อาทิ โครงการอบรมธรรมทายาท ซึ่งมีทั้งในรูปแบบของการอุปสมบทพระภิกษุ อบรมธรรมทายาทหญิง อบรมอุบาสิกาแก้วหน่ออ่อน โครงการฟื้นฟูศีลธรรมโลก โครงการเด็กดีวีสตาร์ โครงการตอบปัญหาธรรมะทางก้าวหน้า เป็นต้น โดยให้เหตุผลเพื่อการเผยแผ่และค้ำจุนพระพุทธศาสนา ในขณะที่ชาวพุทธชาวไทยส่วนหนึ่ง มองการกระทำดังกล่าวเป็นการกระทำที่สุดโต่ง ไม่สันโดษ ไม่สมถะ แอบแฝงเป็นพุทธพาณิชย์
 
แม้จะมีความไม่เห็นด้วยดังกล่าว พระเทพญาณมหามุนี(ไชยบูลย์ ธมฺมชโย)ก็ยังมั่นคงในปณิธานที่จะบวชอุทิศชีวิต และถือหลักคติว่าคนเราเมื่อจะทำความดีแม้มีผู้ไม่เห็นด้วยก็จะต้องอดทนโดยต้อง "ไม่สู้ ไม่หนี แต่ให้ทำความดีเรื่อยไป" ซึ่งหลักการนี้นำมาจากโอวาทปาติโมกข์<ref name="โอวาทปาติโมกข์">[http://myfri3nd.myfri3nd.com/blog/2011/02/17/entry-2 โอวาทปาติโมกข์], โอวาทปาติโมก หลักการเผยแผ่พระพุทธศาสนา.</ref> ที่พระพุทธเจ้าท่านได้ตรัสไว้ในวันมาฆบูชา โดยยังลงเทศนาสั่งสอนธรรมะทุกวันอย่างต่อเนื่อง และตั้งใจที่จะอุทิศตนเผยแผ่ ''พระพุทธศาสนา'' เพื่อการปฏิบัติธรรมให้เข้าถึงพระธรรมกายแก่มหาชนทั้งภายในประเทศไทยและนานาประเทศทั่วโลกตราบจนหมดอายุขัย
 
== อ้างอิง ==